ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21

Main Article Content

wirat Boonrak
Wichian Rooyuenyong

Abstract

The purposes of this survey research were: 1) to investigate the strategic leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 21, 2) to examine the effectiveness of schools under the Secondary Educational Service Area Office 21 and 3) to identify the relationship between the strategic leadership of school administrators and the effectiveness of schools under the Secondary Educational Service Area Office 21. The population group included 56 school administrators and 2,208 teachers, yielding a total of 2,264 people. The sample size was determined by Taro Yamane's tables. The sample, obtained through stratified random sampling, consisted of 12 school administrators and 328 teachers, yielding a total of 340 participants working in schools under the Secondary Educational Service Area Office 21 in the academic year 2019. The research instrument consisted of a 5-level rating scale questionnaire based on the Likert scale method. The statistics for data analysis comprised frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson's product-moment correlation coefficient. The research results were found that: 1. The strategic leadership of school administrators, in overall, was rated at a high level. When the aspects were individually considered, they could be ranked in descending order of their mean as follows: gathering factors for strategy formulation, followed by forecasting the future, revolutionary thinking, critical thinking ability, and creating a vision, respectively. 2. The school effectiveness, in overall, was rated at a high level. When the aspects were individually considered, they could be ranked in descending order of their mean as follows: the ability to solve problems within schools, followed by the ability to transform and develop schools, the ability to produce students with high academic achievement, and the ability to develop students’ positive attitudes, respectively. 3.The relationship between the strategic leadership of school administrators and the school effectiveness, in overall, was found at the highest level (r = 0.76) with the 0.01 level of significance. When the relationship of each aspect was considered, the correlation coefficient values of those aspects could be ranked in descending order as follows: the ability to produce students with high academic achievement (r = 0.76), followed by the ability to develop students’ positive attitudes (r = 0.65), the ability to transform and develop schools (r = 0.65) and the ability to solve problems within schools (r = 0.60), respectively.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กมล โสวาปี. (2556). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา. เข้าถึงได้จาก http://www.onec.go.th/index.php/book/BookView/1699. 8 มกราคม 2562.

เกศรา สิทธิแก้ว. (2558). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ขวัญใจ เกตุอุดม. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์.

คชาภรณ์ เสริมศรี. (2557). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

งามตา ธานีวรรณ. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยพัชร์ เลิศลักษ์ทวีกุล. (2561). บทบาทภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์. เข้าถึงได้จาก http://old.deonetraining.com/team_member.11 กุมภาพันธ์ 2561. 25 มกราคม 2562.

ไชยา ภาวะบุตร ละม้าย กิตติพร และณัฐยาภรณ์ เล็กสิงห์โต. (2561). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของแม่ฑีตาผ้าคราม. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6(24), 1-6.

นพวรรณ บุญเจริญสุข. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

นฤมล สุภาทอง. (2550). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาทีส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พรสุดา พรหมกูล. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

เพ็ชรชมพู พิชญ์พันธ์เดชา. (2561). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์และวัฒนธรรมองค์การทีส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วารสารบริหารการศึกษา มศว., 15(28), 26-35.

เพ็ญประภา สาริภา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่าผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

มันทนา กองเงิน. (2554). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์กับการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วันวิสาข์ ทองติง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ศิริเพ็ญ สกุลวลีธร. (2556). ได้ศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สันธยา อาแพงพันธ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. (2562). แผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 2562. เข้าถึงได้จาก http://www. Spm21.com e-mail : Secondary๒๑.go.th@obec.go.th. 17 พฤษภาคม 2563.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2548). ภาวะผู้นำทฤษฎีและปฏิบัติ: ศาสตร์ และศิลป์ สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วิรัตน์เอ็ดดูเคชั่น .

สุพรรณ ประศรี. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

Adair, J. (2002). Effective strategic leadership. London: Pan Macmillan.

DuBrin, A. J. (2007). Leadership: Research findings practice and skills. (5th ed.). Boston MA: Houghton Miffin

Mott, P. E. (1972). The characteristics of efficient organization. New York: Harper and Row.

Seyfarth, J. T. (1991). Personnel manager for effective schools. Boston: Allyn and Bacon.