การขยายอำนาจของจีนช่วงการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน จากปัญหากองพล 93 ของรัฐบาลพรรคก๊กมินตั๋ง และสงครามเกาหลี
Main Article Content
Abstract
The objective of this research paper was to examine the expansion of China during the establishment of the People's Republic of China in relation to the Kuomintang government's 93rd Division’s opposition and the Korean War. The paper employed a qualitative research method when undertaking data collection through documentary inquiries and interviews. The results showed that China’s expansion after the establishment of the People's Republic of China in 1949 set out to achieve two important goals: security and revolution. Changes in context and environment following the country establishment influenced China, resulting in the significant role of the Communist Party of China in driving the Kuomintang government's 93rd Division from Kunming City to the China-Burma-Thailand border, which led to border problems and further relocation. The Korean War between 1950 and 1953, showed China's first military role outside the country in response to an offensive from the United States and its allies. This led to a military confrontation and the beginning of the conflict between the United States and the People's Republic of China during the Cold War.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
จุลชีพ ชินวรรโณ. (2529). หน่วยที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในปัจจุบัน. เอกสารการสอนชุดวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
_______. (2539). หน่วยที่ 3 จีนกับการเมืองระหว่างประเทศในเอเชีย. เอกสารการสอนชุดวิชาการเมืองระหว่างประเทศในเอเชีย
หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
_______. (2548). หน่วยที่ 7 การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน. เอกสารการสอนชุดวิชาการเมืองการปกครอง
ของประเทศในเอเชีย หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชูเกียรติ พนัสพรประสิทธิ์. (2546). หน่วยที่ 13 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. เอกสารการสอนชุดวิชาหลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์
หน่วยที่ 9-15. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชัยโชค จุลศิริวงศ์. (2540). ตอนที่ 14.4 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่า หน่วยที่ 14 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศโลกที่สาม. เอกสารการสอนชุดวิชาความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศ หน่วยที่ 9-15. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ถนอม อานามวัฒน์. (2521). ประวัติศาสตร์และการวิเคราะห์เหตุการณ์ปัจจุบันของเอเชีย. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์จำกัด.
นันทวดี จันทราทิพย์. (2533). เอกสารการบรรยายวิชา ร 273 การเมืองระหว่างประเทศ ภาคการศึกษาที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประภัสสร์ เทพชาตรี. (2537). โลกานโยบายศาสตร์ (Global Policy Science): มหกระบวนทัศน์ใหม่ของการศึกษาและการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. (อัดสำเนา). ม.ป.ท.
_______. (2541). การศึกษาความมั่นคงระหว่างประเทศ: การศึกษาโลกนโยบายศาสตร์. (อัดสำเนา). ม.ป.ท.
โรม บุนนาค. (2559). กองพล 93 ก๊กมินตั๋ง ตกค้างจนรากงอกในไทย สละชีพเพื่อสัญชาติ. เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com › ... › เรื่องเก่า เล่าสนุก. 13 มกราคม 2564.
สมบัติ จันทรวงศ์. (2541). หน่วยที่ 13 แนวทางอื่นในการศึกษารัฐศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ หน่วยที่ 9-15. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมพงษ์ ชูมาก. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยุคปัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแนวโน้ม). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Butwell, Richard. (1963). U Nu of Burma. Stanford, California: Stanford University Press.
Kuomintang Aggression Against Burma. (1953). Union of Burma: A Publication of the Ministry of Information of the Government of the Union of Burma.
Zhou, Bangning. (2015). Explaining China Intervention in the Korean War in 1950. Interstate – Journal of International Affairs, 2014/2015(1), 1. Available from http://www.inquiriesjournal.com›Articles. June 20th, 2021.