การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to: 1) develop learning leadership Indicators of school administrators, 2) examine the congruence of the developed structural model of learning leadership Indicators of school administrators with empirical data, and 3) develop a manual for the implementation of learning leadership Indicators of school administrators. The research was divided into three phases. The first phase was the development of learning leadership Indicators of school administrators by synthesizing relevant documents and research. The second phase was the congruence examination of the developed structural model with empirical data. The sample, obtained through multi–stage sampling, consisted of 572 school directors, deputy directors, chief of administration group, and teachers. The tool for data collection was a set of five–level rating scale questionnaires with IOC between .60 and 1.00, discriminative index between .37 and .81 and the reliability of .99. The third phase was the development of a manual for the implementation of learning leadership indicators of school administrators. The developed manual was assessed through five experts. The results of this research revealed that: 1) The learning leadership Indicators of school administrators consisted of five components, 19 sub-components, and 116 indicators, 2) The developed structural model of learning leadership Indicators of school administrator was congruence with empirical data, and 3) the developed manual was appropriate at the highest level.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กนกอร สมปราชญ์. (2559). ภาวะผู้นำและภาวะผู้นำการเรียนรู้สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
กลุ่มสารสนเทศ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. (2560). ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารการศึกษา. เข้าถึงได้จาก http://data.boppobec.info/emis/index_area.php?Area_CODE=101722. 21 มิถุนายน 2562.
ชลลดา พึงรำพรรณ และวุฒิพล สกลเกียรติ. (2560). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้เป็นทีมของข้าราชการครูสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 11(1), 76-88.
ธีระ รุญเจริญ. (2558). บูรณาการทางการศึกษา. เอกสารประกอบการบรรยาย. นครราชสีมา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ประวีณา โภควณิช. (2559). แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษาเรียนรวมระดับประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
พรปวีณ์ คงนันทิพัฒน์. (2559). กลยุทธ์การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พระมหาอภิชาติ ชยเมธี (ถาวร). (2561). การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนของสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีดีเด่น. วิทยานิพนธ์ พธ.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พีระวัตร จันทกูล และฉลอง ชาตรูประชีวิน. (2560). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(3), 225-237.
รัตน์ดา เลิศวิชัย และธีระ รุญเจริญ. (2560). องค์ประกอบภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของครูสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 17(ฉบับพิเศษ), 669-683.
ละมัย แก้วสวรรค์. (2558). ผลการจัดกิจหรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสด์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วราภรณ์ ผ่องสุวรรณ. (2553). การพัฒนารูปแบบการสร้างความรู้ร่วมกันด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้เป็นทีมของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์. ค.ด. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัลทณี นาคศรีสังข์. (2557). รูปแบบการส่งเสริมกระบวนการคิดสร้างสรรค์ของผู้บริหารในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
_______. (2560). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). สกลนคร: สมศักดิ์การพิมพ์.
ศรีน้อย ลาวัง. (2552). การวิเคราะห์กระบวนการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนของครูโดยใช้เทคนิคการสืบสอบแบบชื่นชม. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมชาย เทพแสง. (2559). ภาวะผู้นำแห่งการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 4. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 13(25), 116-125.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). สพฐ. 54. กรุงเทพฯ: อูชาหงิ.
สุเนตรา แสงรัตนกูล. (2558). การพัฒนาคู่มือการจัดทำแผนพัฒนาผู้ตรวจสอบภายในรายบุคคลโดยอิงเกณฑ์สมรรถนะหลักสำหรับผู้ตรวจสอบภายใน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุรศักดิ์ เวียนรอบ และวลัยพร ศิริภิรมย์. (2557). การศึกษาสมรรถนะการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(3), 204-215.
อินทิรา บริบูรณ์. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมโรงเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเครือข่ายโรงเรียนนานาชาติเวลล์ส สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. สารนิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, R. (2006). Multivariate data analysis. 6th. Upper Saddle River: Prentice-hall.
James, M. K., & Barry, Z. P. (2016). Learning Leadership: The Five Fundamentals of Becoming an Exemplary Leader. Retrieved from http://onlinelibrary.wiley.com/book/10.1002/9781119176725. March 7th, 2019.
Owen, S. (2013). Leadership for 21st Century Learning. New York: OCED Publishing.