การสร้างแบบวัดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 โดยการประยุกต์ ใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของผลการวัด

Main Article Content

Praphatsara Dongjan
Patcharin Chompuwiset

Abstract

The objectives of this research were: 1) to create and develop a test of mathematical skills and processes. on statistical literacy, 2) to examine and verify the developed test, and 3) to create a user manual for a test of mathematical skills and processes on statistical literacy for Mathayomsuksa 3 students by applying Generalizability theory (G-theory). A sample group, selected through multi-stage sampling, consisted of 160 participants who were drawn from the population of 7,805 Mathayomsuksa 3 students under the Secondary Educational Service Area Office 21. The instrument was a 10-item subjective test of mathematical skills and processes. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, item difficulty, discriminative index, reliability, variance, relative coefficient, absolute coefficient, and content validity.                                                 The results of the research were as follows:                                                                                                                        1. The test of mathematical skills and processes was a subjective test on statistical literacy consisting of: 1) mathematical problem-solving abilities, 2) abilities to communicate and produce meaningful communication in mathematics, 3) connecting various bodies of mathematical knowledge, 4) reasoning abilities, and 5) creative thinking abilities.                                                                                                                                    2. The test of mathematical skills and processes on statistical literacy for Mathayomsuksa 3 students was qualified with item difficulty (p) from 0.69 to 0.77, discriminative index (r) from 0.33 to 0.44, and the reliability of 0.63.                                                                                                                                                                                                3. The test of mathematical skills and processes on statistical literacy for Mathayomsuksa 3 students was assessed by three raters using a holistic assessment. The results revealed that the variance (I) of scoring rating was at the highest level of 57.02 (50.30%) which indicated that the score differences were consistent with the scoring reviews, followed by a student variance (P) of 44.51 (39.30%) which indicated that the score differences were relevant to interpreting different student abilities. In addition, the students and the raters had the lowest interaction effects of 0.06 (0.10%). The relative coefficient was found to be 0.91 with the absolute coefficient of 0.58, which indicated that the test of mathematical skills and processes on statistical literacy was reliable in accordance with the Generalizability Theory.                                                                                    4. The user manual of the test of mathematical skills and processes on statistical literacy for Mathayomsuksa 3 students by applying the Generalizability Theory (G theory) was detailed as follows: 1) definitions of the test of mathematical skills and processes on statistical literacy, 2) objectives, 3) a test structure, 4) a test quality, 5) testing methods, and 6) scoring reviews and examination results of the user manual were validated by five experts containing the content validity index (CVI) of 0.83.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กิติยาภรณ์ สุปะทัง. (2560). การสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

จริยาวดี ชูวงศ์ศิริกุล. (2550). การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

นัฐพร ดื้อจันดา. (2551). การสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2551). การเขียนรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

บุษวรรษ์ แสนปลื้ม. (2556). การใช้วิธีการตรวจคุณลักษณะและสัดส่วนจำนวนผู้ตรวจให้คะแนนที่มีผลต่อความเที่ยงตรงของการวัดความสามารถในการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2552). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์.

รังสรรค์ มณีเล็ก. (2545). เรื่องระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). การวัดด้านจิตพิสัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2555). ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริขวัญ ใสแสง, เรืองเดช ศิริกิจ และ อรอุมา เจริญสุข. (2561). การสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิง ความน่าเชื่อถือของผลการวัด. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 36(2), 54-74.

สาคร สียางนอก. (2556). การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม.

สุนีย์ คล้ายนิล, ปรีชาญ เดชศรี และ อัมพลิกา ประโมจนีย์. (2550). การวัดผลประเมินผลเพื่อคุณภาพการเรียนรู้และตัวอย่างข้อสอบจากโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA). กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).

อภิญญา แก้วประเสริฐ. (2558). การเปรียบเทียบค่าความน่าเชื่อถือของผลการวัดของแบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร์ที่มีรูปแบบของคำตอบต่างกัน: ทฤษฎีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของผลการวัด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กาญจนบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

อัมพร ม้าคนอง. (2553). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Hopkins, C.D., & Antes, R. (1990). Classroom measurement and evaluation. Itasca, IL: United States.

National Council of Teachers of Mathematics (NCTM). (2000b). Principle and Standards for School Mathematics. Reston, Virginia: National Council of Teachers of Mathematics.

Smith, P. L. (1978). Sampling errors of variance components in small sample multifaceted generalizability studies. Journal of Educational–Statistics, 3(4), 319-346.

Yamane T. (1967). Statistic s: An introductory analysis. (3rd ed). Singapore: Harper international.