ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน กลุ่มอำเภอไทรน้อย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2

Main Article Content

Maneerat Prasertphol
Amnuay Thongprong

Abstract

This survey research aimed to examine and compare teachers’ opinions on instructional leadership of school administrators in schools of Sainoi district under Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 2, classified by educational level and work experience. The sample, obtained through stratified random sampling, consisted of 192 teachers working in Sainoi district school under Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 2 in the 2020 academic year. The research instrument was a set of five-scale rating questionnaires with the discriminative index between 0.51 and 0.91 and the reliability of 0.99. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test for Independent Samples, and One-Way ANOVA.                                                                                                                                                                              The findings were as follows:


  1. Teachers’ opinions on instructional leadership of school administrators as a whole and in each aspect were at a high level.

  2. The comparison result of teachers’ opinions on instructional leadership of school administrators, classified by educational level as a whole and in each aspect showed no difference.

  3. The comparison result of teachers’ opinions on instructional leadership of school administrators in schools of Sainoi district under Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 2, classified by work experience, as a whole and each aspect showed no difference.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับที่ 2). และที่แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

เกตุสุดา กิ้งการจร. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

เกตุอัมพร มียิ่ง และสินธะวา คามดิษฐ์. (2560). ปัจจัยภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเอกชน สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย. สุทธิปริทัศน์, 31(4), 234-244.

เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. (2554). การบริการและประเมินโครงการ = Project Management and Evaluation. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทัศนา วรรณประภา. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอสอยดาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญพา พรหมณะ. (2559). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

ปฐม ปริปุนณังกูร. (2554). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2. สารนิพนธ์ ศษ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

“ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561–2580),” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก. หน้า 1. 13 ตุลาคม 2561.

พรชัย อินอ้อย. (2562). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตบางนากรุงเทพมหานคร. การศึกษาอิสระ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พัชราภรณ์ จันทพล. (2559). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก. งานนิพนธ์ ศษ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มนต์ตรี.

วิเชียร วรรณภากร. (2560). การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

วิศิษฐ์ศรี โตศุกลวรรณ์. (2562). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร. การศึกษาอิสระ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศราวุธ ทองอากาศ. (2560). การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดจันทบุรี ระยองและตราด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า. (2553). ยุทธศาสตร์การปรับวิธีเรียน การเปลี่ยนวิธีสอนเพื่อเตรียมสู่ความก้าวหน้าในอนาคต. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า.

สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี: อักษรศิลป์การพิมพ์.

สมบูรณ์ บูรศิริรักษ์. (2559). การศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่สามารถพยากรณ์การบริหารจัดการศึกษานอกโรงเรียนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 23(24), 79-91.

สมฤทัย อ่อนรัมย์. (2558). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตนางรอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษมัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

สมุทร ชำนาญ. (2556). ภาวะผู้นำทางการศึกษา ทฤษฎีและปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ระยอง: พี.เอส.การพิมพ์.

สิริกร พลายงาม. (2557). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

สุขฤทัย จันทร์ทรงกลด. (2558). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. งานนิพนธ์ ศษ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุพชาต ชุ่มชื่น. (2554). ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนนวมิทราชินูทิศสวนกุหลาบวิทยาลัยปทุมธานี. สารนิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563. เอกสารหมายเลข

/2563. นนทบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

เสาวภาพันธ์ ศรีประเสริฐ. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักการศึกษาเมืองพัทยา. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Creative Research Systems. (1982). Sample Size Calculator. Retrieved from https://www.surveysystem.com/sscalc.htm. Aug 15th, 2020.

Davis, Gray. A. & Thomas, Margaret. A. (1988). Effective schools and effective teachers. Boston: Allyn & Bacon.

Hallinger, P. & Murphy, J. (1985). Assessing the instructional Management behavior of principals. The Elementary School Journal, 86(11), 221-227.

Krug, R. E. (1992). Leadership and performance beyond expectations. New York: Free Press.