การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตห้วยขวาง

Main Article Content

Parinyaporn Mueangphin
Siriphong Sauphayana

Abstract

The purposes of this research were: 1) to examine the level of teacher participation of academic affairs administration in schools under Bangkok Metropolis in Huaikhwang District Office, and 2) to compare teacher participation in school academic affairs administration, classified by educational background and work experience, in seven aspects consisting of: (1) School curriculum development, (2) Development of learning processes, (3) Measurement, evaluation and credit transfer, 4) Development of medias, innovation and educational technology, (5) Educational supervision, (6) Research for quality education development, and (7) Development of school internal quality assurance. The sample in this research included 112 teachers in schools under Bangkok Metropolis in Huaikhwang District Office in the academic year 2020. The research instrument was a set of 5-rating scale questionnaires with the reliability of .987, using Cronbach’s Alpha Coefficient. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test for Independent Samples, and One-Way ANOVA, and Scheffe method. The results revealed as follows: 1. The level of teacher participation in school academic affairs administration as a whole was at a high level. 2. Teacher participation in school academic affairs administration, classified by educational background, as a whole and in each aspect, showed no differences. 3. Teacher participation in school academic affairs administration, classified by work experience, as a whole and in each aspect, was different at the .05 level of significance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กนกรัตน์ ทำจะดี. (2560). การศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมในงานวิชาการของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

จันทร์ปภัสสร จันทร์พินิจ. (2557). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนบ้านดอนไผ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. สารนิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

พิสณุ ฟองศรี. (2549). วิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เทียมฝ่าการพิมพ์.

เมตต์ เมตต์การุณ์. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บุ๊คพ้อย.

ยุทธศิลป์ พานนนท์. (2546). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

วีระศักดิ์ วงศ์อินทร์. (2557). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สิริกร ทิติยวงษ์. (2556). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

หาญณรงค์ กระจงจิตร. (2558). การศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการโรงเรียนเครือข่ายการศึกษากรมหลวงชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2. งานนิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Cohen & Uphoff. (1980). Effective Behavior in Organizations. New York: Richard D. Irwin Inc.