การพัฒนาชุดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้วิธีการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

Nootchanart Chotboon

Abstract

The purposes of this research were: 1) to construct and examine the effectiveness of the mathematics instructional packages on Introduction to Logic using a STAD cooperative learning method for Mathayomsuksa 4, 2) to compare students’ learning achievement after learning through the developed packages, 3) to examine the effectiveness index of the developed packages and, 4) to investigate the students’ satisfaction toward learning through the developed packages. The sample, obtained through cluster random sampling, consisted of 41 Mathayomsuksa 4/1 students studying in the first semester of academic year 2018 at Buakhao School, Kuchinarai district, Kalasin province. The research tools included: 1) six volumes of mathematics instructional packages, 2) six lesson plans, 3) a 30-item learning achievement test with 4-multiple choice questions, and 4) a student satisfaction test with a five-point rating scale. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test for Dependent Samples. The results were as follow: 1. The developed mathematics instructional packages on Introduction to Logic using a STAD cooperative learning method for Mathayomsuksa 4 achieved the efficiency of (E1/E2) 81.34/81.95 which was higher than the defined criteria of 75/75. 2. The students’ learning achievement after the intervention was higher than that of before at the .05 level of significance. 3. The effectiveness index of the developed mathematics instructional packages was 0.7124 which was 71.24 percent. This suggests that the overall students’ learning progress increased by 71.24 percent. 4. The students’ satisfaction toward learning through the developed mathematics instructional packages was at the highest level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แนวทางการนำมาตรฐานหลักสูตรไปสู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์.

เกษร ศรีจำปา. (2560). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. โรงเรียนนารายณ์คำผงวิทยา: สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33.

ณัฐณิชา หนูพันธ์. (2558). รายงานผลการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง ตรรกศาสตร์ ประกอบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. มุกดาหาร: โรงเรียนมุกดาวิทยานุกูล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22.

นาถศิริ มุพิลา. (2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2548). การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุ่งทิวา ควรชม. (2546). การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2552). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของประชาชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Slavin R.E. (1995). Cooperative Learning Theory Research and Practice. Massachusetts: Mass Achuse Hs A Division of Simon and chuster.

Maslow, Abraham Harold. (1970). Motivation and Personality. (2nd ed). New York: Harper & Row.