ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพิชิต O-NET เรื่อง เซต โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

อัญญาณี สุมน
สมคิด อินเทพ
อรรณพ แก้วขาว

Abstract

The purposes of this research were 1) to examine the students’ learning achievement after learning through the learning management to conquer the O-NET on the topic of Set using varieties of teaching methods for MathaYomsuksa students of Phasang Wittaya School, and 2) to explore the mathematical concepts after the intervention. The sample was 36 students in Mathayomsuksa 6 who studied in the first semester of the academic year 2019 at Phasang Wittaya School, Surat Thani Province. Research instruments were seven lesson plans on Pre-O-NET on the topic of Set, a Pre-O-NET learning achievement test, and a mathematical concept test. The data were analysed using mean, standard deviation and t-test. The results were: 1) the students’ learning achievement was 14.33 (total score of 20), which was higher than the 50-percentage criterion with a statistical significance of 0.05 level, and 2) the students’ mathematical concept score was 20.31 (total score of 30) which was higher than the 50-percentage criterion with a statistical significance of 0.05 level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กาญจนา กลับเป็นสุข. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ระบบ สมการ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสอนแนะให้รู้คิดร่วมกับการใช้คำถาม. วารสารครุพิบูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 6(2), 283-296.

ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ชวาล แพรัตกุล. (2552). เทคนิคการวัดผล. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ธัญญา เรืองแก้ว. (2550). การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สำคัญอย่างไร. วารสารวิชาการ, 10(4), 78-79.

นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, (2545). การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา.

โรงเรียนพระแสงวิทยา. (2561). รายงานผลการดำเนินงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2560. สุราษฎร์ธานี: กลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนพระแสงวิทยา.

วนิดา พงษ์ศักดิ์ชาติ, (2560). สถิติสำหรับงานวิจัย. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรรณพร ทสะสังคินทร์, (2556). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการสร้างผังกราฟิกในรายวิชาแคลคูลัส 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยการอาชีพ. วิทยานิพนธ์ วท.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิโรจน์ ดุเหว่า. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่องการคูณและการหารเศษส่วน โดยใช้วิธีการอุปนัย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2560). คู่มือการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).

สุรชาติ วงศ์สุวรรณ, (2542). การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

ศิริพร ไชยศรี. (2559). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบอุปนัยเพื่อสร้างความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทพา จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ วท.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศิริพร ศรีปุย. (2548). ผลการใช้ชุดกิจกรรม WALK RALLY คณิตศาสตร์ด้วยวิธีสอนแบบค้นพบ เรื่องลำดับเขคณิตและลำดับเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. สารนิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อนุวัติ คูณแก้ว. (2559). การวัดผลและประเมินผลการศึกษาแนวใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.