อิทธิพลของการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลต่อประสิทธิผลการจัดบริการสาธารณะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอนิคมน้ำอูน จังหวัดสกลนคร
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were: 1) to examine the levels of good governance management and effectiveness of public services of the Local Administration Organizations (LAOs) in Nikhom Nam Un District, Sakon Nakhon Province, 2) to determine the influence of good governance management affecting the effectiveness of public services, and 3) to examine guidelines for developing the effectiveness of public services of the LAOs in Nikhom Nam Un District. The survey sample obtained from the sample size determination of Yamane’s formula consisting of 390 long-term residents of Nikhom Nam Un District, Sakon Nakhon Province. The instrument for data collection was a set of questionnaires. Statistics for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and Multiple regression analysis.
The findings revealed that: 1) Good governance management as a whole was at a high level (= 3.90). The effectiveness of public services as a whole was at a high level (= 3.94); 2). The principles of good governance management covered the following components: participation (b = .390), value of money (b = .236), rule of law (b = .130), and transparency (b = .102), which influenced the effectiveness of public services at the .05 level of statistical significance, and jointly contributed 66.40 percent in predicting the effectiveness of public services. Accountability, and ethics aspects did not influence the effectiveness of public services; and 3) The guidelines for developing the effectiveness of public services of the LAOs in Nikhom Nam Un District, Sakon Nakhon Province revealed that the LAOs should promote and support the public for supplementary occupations and increasing incomes by inviting experienced speakers to share knowledge in terms of trade, investment, and marketing. The LAOs should also encourage and promote greater opportunities for public participation in local development, as members in the communities would have better ideas and be more knowledgeable of individual communities’ problems. The LAOs should utilize more official volunteers to create and maintain a safe environment. A wide range of projects and activities to enhance the quality of life and to promote culture, religion, customs, and local wisdom should be ongoing.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กมลลักษณ์ ธนานันต์เมธี. (2558). อิทธิพลของธรรมาภิบาลและวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การขององค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา.
กระทรวงมหาดไทย. (2551). คู่มือการปฏิบัติงานการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพฯ: อาสารักษาดินแดน.
กิตติ์รวี เลขะกุล, นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว และศรัญลักษณ์ เทพวารินทร์. (2561). ธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การ ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: รายงานการวิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
โกวิทย์ พวงงาม. (2552). การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา.
ชูวงศ์ ฉายะบุตร. (2557). การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: พิฆเณศการพิมพ์.
ชาติชัย อุดมกิจมงคล. (2560). อิทธิพลของการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลต่อประสิทธิผลการบริหารงานของเทศบาลตำบลในจังหวัดสกลนคร. สกลนคร: รายงานการวิจัย สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ธรรศพงศ์ วงษ์สวัสดิ์. (2560). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลท่านางงาม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ รป.ม. พิษณุโลก: วิทยาลัยทองสุข.
ธีรเดช สนองทวีพร. (2560). การบริหารจัดการโดยหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ รป.ม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยเกริก.
บุญฤทธิ์ เกตุจำนง. (2550). การนำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษากรณี เทศบาลนครนนทบุรี. ปัญหาพิเศษ รป.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ประกาพันธ์ สุธรรมแปง. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลขององค์การบริหารส่วนตำบลส่องดาว. วิทยานิพนธ์ รป.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550”, ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนที่ 47 ก, 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1 - 127.
“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560”, ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560, หน้า 1 - 90.
อุทัย จันทรรัตนกานต์. (2559). หลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของเทศบาลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. สารนิพนธ์ รป.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
Denhardt, J.V., & Denhardt, R.B. (2003). The new public service: Serving, not steering. Armonk. New York: M.E. Sharpe.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rded.). New York: Harper: & Rows. Publishers.