การวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านม่วง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1

Main Article Content

ลัดดา - แต้มพิมาย
ภัทราพร เกษสังข์
นฤมล ศักดิ์ปกรณ์กานต์

Abstract

The purposes of this research were : 1) to examine problems concerning English communicative skills for Mathayomsuksa 3 students at Banmoung school, 2) to investigate expectations, and to establish the guidelines for developing English communicative skills for Mathayomsuksa 3 students, 3) to study the effects, and to compare English communicative skills of students before and after the intervention, and 4) to explore the students’ satisfaction toward the development of English communicative skills. The target group consisted of 17 Mathayomsuksa 3 students in academic year 2018. The research instruments included: 1) an interview form, 2) lesson plans, 3) pretest and posttest forms for communicative skills evaluation, 4) an end-of-spiral test form for communicative skills, and 5) a satisfaction interview form. Qualitative data was analyzed by content analysis, and quantitative data was analyzed to obtain percentage, mean, standard deviation, and the Wilcoxon signed-rank test.


            The research findings were as follows:


  1. The problems of students’ English communicative skills revealed that all students did not pass the assessment criteria of 60 percent. Most students were unable to communicate their opinions. Students having ability to read and write words were found. Some students were unable to translate their thoughts into words, and write sentences.

  2. The expectations concerning students’ English communicative skills included having ability to summarize from the story they listened to, to communicate their thoughts and ideas, to identify the main ideas, and to translate the words from the reading texts. Students passed the criteria scores of 60 percent with the total number of students passing criteria minimally 70 percent of all students. The guidelines for developing students’ English communicative skills were students should learn more vocabularies, practice their listening skills using various multimedia, simple conversations, do pair work and role play, and read pronunciation exercises and simple short stories. They should also practice writing correct sentences and writing essays about pictures.

  3. The effects after the development of students’ English communicative skills through three spirals of the action research revealed that 15 students passed the criteria at 88.24 percent of all students. The comparison results of students’ English communicative skills were statistically higher than those of before the intervention at a significance level of .01.

  4. Most students satisfied and felt confident to communicate in English.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กาญจนา พรมซาว. (2553). การใช้แนวการสอนพหุประสามสัมผัสเพื่อส่งเสริมความรู้คำศัพท์และความสามารถในการเขียน ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551 ก). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

_______. (2551 ข). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ดวงเนตร ใจชัยภูมิ. (2559). การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ กศม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธีรวัฒน์ โคตรหานาม. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้คลิปภาพยนตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ธัชมาศ พิภักดิ์. (2555). การจัดกิจกรรมตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟังและการพูด ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

บุษรา พักกระโถก. (2555). การวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านวังไหโนนสมบูรณ์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

บำรุง โตรัตน์. (2535). วิธีการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประสิทธิ์ เครือแตง. (2553). ผลการใช้สื่อภาพยนตร์เพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภัทราพร เกษสังข์. (2559). การวิจัยปฏิบัติการ (Action Research). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มยุรี ยลสุข. (2552). การวิจัยปฏิบัติการเรื่องการพัฒนากิจกรรมการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนภูกระดึงวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

มลฑา ตุ้มอ่อน. (2551). การพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรมเพื่อการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

เรณู สัมมัตถะ. (2553). การพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ภาพยนตร์การ์ตูน. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รสสุคนธ์ พหลเทพ. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาอังกฤษด้วยเพลงเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

โรงเรียนบ้านม่วง. (2560). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559. ขอนแก่น: โรงเรียนบ้านม่วง.

_______. (2561). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560. ขอนแก่น: โรงเรียนบ้านม่วง.

ละเอียด จุฑานันท์. (2544). แนวการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษตามหลักสูตรภาษาอังกฤษ พ.ศ.2539 ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ.2521 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533). กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

วาสนา สิงห์ทองลา. (2555). การพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิภารัตน์ อุปรินทร์. (2551). การพัฒนาความสามารถทางการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เกม. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

วิมลพันธุ์ พินธุรักษ์. (2553). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เกมแข่งขันตอบปัญหา. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศิริมา โพธิจักร. (2551). การใช้กิจกรรมการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

สถาบันภาษาอังกฤษ. (2560). ความเป็นมา. เข้าถึงได้จาก https://english.obec.go.th. 18 พฤษภาคม 2561.

สุเพ็ญพรรณ ลับโกษา. (2553). การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุภาพรรณ ศรีสุข. (2560). เล่านิทานประโยชน์มหาศาลต่อการเรียนรู้. เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/61073/-parpres-par. 2 มกราคม 2562.

สุภาพ เกิดดี. (2559). การใช้บทเพลงเพื่อส่งเสริมการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

สุมาลี บุญดี. (2555). ผลการใช้นิทานเพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนบ้านบังยาง อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.