การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

Main Article Content

รักษ์มณี สารเสวก
สุรชา อมรพันธุ์

Abstract

The purposes of this research were: 1) to examine the components of learning management in the science learning area in schools under the Secondary Educational Service Area Office 28, 2) to explore current and desirable conditions, and methods for promoting learning management, and 3) to develop and validate the teacher development program for learning management in the science learning area. The research was divided into three phases as follows: Phase I - Study of components and indicators of learning management; Phase II- Investigation of current and desirable conditions and methods for promoting learning management of teachers. The sample was obtained through stratified random sampling; Phase III - Program development and evaluation. The tools for data collection included a set of 5-rating scale questionnaires concerning current and conditions with a discriminative power value of 0.33 – 0.73, and a reliability of 0.82, and an assessment form of program appropriateness. Statistics for data analysis were mean and standard deviation.


            The findings were as follows:


  1. The learning management of science learning area in schools under the Secondary Educational Service Area Office 28 consisted of five components, which reached appropriate criteria ranging between 0.80 and 1.00.

  2. The results from the investigation concerning current conditions of teachers’ learning management of science learning area revealed that all aspects overall and each aspect were at a moderate level. In terms of desirable conditions, all aspects overall and each aspect were at a high level.

  3. The teacher development program on learning management of science learning area comprised: principles, objectives, content, development methods and evaluation. The knowledge assessment was administrated before and after the program implementation. The participants’ satisfaction form was also distributed after the program implementation. The program assessment was conducted by experts and resulted in a high level of appropriateness.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิดทฤษฎีและการนำไปใช้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วี พริ้นท์ (1991) จำกัด.

ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปเมนเนจเม้น.

ปริญญา มีสุข. (2552). ผลของการออกแบบโปรแกรมการพัฒนาทางวิชาชีพแบบมีสวนรวมของครู. วิทยานิพนธ์ ค.ด. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บริษัทแอล. ที. เพรส จำกัด.

ประสาท เนืองเฉลิม. (2557). หลักสูตรการศึกษา. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พรนพ พุกพันธุ์. (2557). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และพรทิพย์ แข็งขัน. (2551). รายงานการวิจัยสมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

วรนิษฐา เลขนอก. (2560). โปรแกรมการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2550). การนิเทศการสอน สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิจารณ์ พานิช. (2555). สู่การสร้างสรรค์สูงส่งเต็มศักยภาพการจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัย. วารสารศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(3), 3 – 7.

วิเชียร วิทยอุดม. (2550). ภาวะผู้นำฉบับก้าวล้ำยุค. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

วิโรจน์ สารัตนะ. (2548). โรงเรียนองค์การแห่งการเรียนรู้กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2543). การประเมินการศึกษาและการสอน. กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานอุดมศึกษา.

สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. (2550). การพัฒนาครู. เข้าถึงได้จาก http://www.udesa2.go.th/newup/id-plan/present1.ppt.269>. 30 มีนาคม 2559.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). การวัดผลประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

สันต์ ศูนย์กลาง. (2551). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมสําหรับครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวาน กราฟฟิกจำกัด.

สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2555). คู่มือ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (2554 -2558) ระดับอุดมศึกษา ฉบับสถานศึกษา. แก้ไขเพิ่มเติม พฤศจิกายน 2554. กรุงเทพฯ: สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

สุดารัตน์ ขวัญบาง. (2560). โปรแกรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Bar, M.J. and L.A. Keating. (1990). Introduction: Elements of Program Development. San Francisco: Jossey-Bass.

Caffarella, R. (2002). Planning Programs for Adult Learners: A Practical Guide for Educators, Trainers, and Staff Developers. New York: Jossey - Bass.

Houle, C.O. (1996). The Design of Education. (2nded). San Francisco: Jossey-Bass.

Knowles, M. (1980). The Modern Practice of Adult Education: What is Andragogy. Chicago: Follet.