แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to: 1) examine the current situation, expectations of school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy, 2) establish the guidelines for school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy, and 3) to evaluate the guidelines for school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy in schools under the Secondary Educational Service Office Area 20. The research was divided into three phases: Phase I- Examination of current conditions, expectations, and needs of school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy. The population were 3,073 teachers working in schools under the Secondary Educational Service Office Area 20 in the academic year 2018. The research instrument was a set of 5-level rating scale questionnaires concerning current conditions and expectations with a reliability of 0.86 and 0.98, respectively. Phase II- Establishment of guidelines for school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy. The semi-structured interviews were conducted with ten school administrators. Data analysis was done through content analysis and confirmed the data quality using triangulation techniques. Phase III- Validation of guidelines for school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy. The developed guidelines were validated and confirmed by 63 school administrators using the 5 -level rating scale evaluation form. Data were analyzed for mean and standard deviation.
The findings revealed that current conditions and expectations of school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy in schools under the Secondary Educational Service Office Area 20, as a whole at a high level in overall and each aspect. The guidelines for school administration in accordance with the principles of sufficiency economy philosophy in schools under the Secondary Educational Service Office Area 20 in terms of utility, feasibility, propriety, and accuracy standards, as a whole was at the highest level.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (รสพ).
_______. (2554). ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา (2550 - 2554). กรุงเทพฯ: ศูนย์ประสานงานกลางการดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์ขับเคลื่อนสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง. (2560). แนวทางการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเพทฯ: ศูนย์ประสานงานกลางการดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
กานต์ชนิต ต๊ะนัย. (2551). การน้อมนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในโรงเรียนบ้านเทิดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
จิราพร ผุยผง. (2561). การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารบัณฑิตเอเชีย, 8(1), 69 - 77.
ทิศนา แขมมณี. (2558). ถอดรหัสปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การสอนกระบวนการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2556). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา. นครราชสีมา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
บุญสวน บุญโพธิ์. (2542). การดำเนินงานตามโครงการโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม (รพชส). วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยสารคาม.
ปรียานุช ธรรมปิยา. (2557). การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (พ.ศ. 2549 - 2557). กรุงเทพฯ: ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ.
ปรียานุช พิบูลสราวุธ. (2549). เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ด้านการศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์.
พรทิพย์ บรรเทา. (2558). แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 (เลย – หนองบัวลำภู). วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศาลินา บุญเกื้อ และนันทกาญจน์ ชินประหัตฐ์. (2557). การถอดบทเรียนและวิเคราะห์อัตลักษณ์ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 - 2559). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_______. (2545). เคล็ดลับการทำวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: อักษรไทย.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607 - 610.