ผลของบทเรียนแบบผสมผสานที่ใช้เทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ วิชาภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

สุนิจฐา พองพรหม
ทวี สระน้ำคำ

Abstract

The purposes of this research were: 1) to examine the efficiency of blended learning lessons using learning together techniques to enhance creative thinking in basic Japanese language course for Mathayomsuksa 6 students, 2) to explore students’ learning achievement after the intervention, 3) to explore creative thinking of students after intervention, and 4) to investigate the student satisfaction after learning through the developed blended learning lessons. The samples were 30 students, obtained by stratified random sampling. The research instruments included: 1) Blended learning lessons using learning together technique to enhance creative thinking, 2) a learning achievement test with a difficulty ranging from .44 to .68, a discriminative power ranging from .20 to 56, and a reliability of .52, 3) a creative thinking assessment test, and 4) a student satisfaction form. This research employed a semi-experimental research with pretest-posttest design. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test.


            The research findings were as follows: 1) Blended learning lessons using learning together techniques to enhance creative thinking in basic Japanese language for Mathayomsuksa 6 students had an efficiency of 82.00/81.67, 2) The students' learning achievement was higher than that of before the intervention at a significance level of .05,  3) The students' creative thinking was higher than that of before the intervention at a significance level of .05,  and 4) The students' satisfaction toward the developed blended learning lessons was at the highest level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: องค์กรรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิตติยา ปลอดแก้ว. (2551). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้ เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่องการสร้าง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: บริษัท ซัคเซส มีเดีย.

เขมิกา สาสุนันท์. (2550). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง พหุนามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ดุลยวิทย์ ภูมิมา. (2551). การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการเรียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

นิษฐานันท์ ไทยเจริญศรี. (2553). ผลของการใช้เทคนิคระดมสมองตามแนวคิดของออสบอร์นที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางภาษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 12(1), 56 - 65.

ปนัดดา สุกเอี่ยม. (2555). ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เรื่อง พลเมืองดีของสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ประกายพรึก จักรพันธุ์, ม.ล. (2552). การออกแบบภาพเคลื่อนไหวเพื่อการจำอักษรคันจิ. การค้นคว้าแบบอิสระ ศศ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปาริชาติ พองพรหม. (2554). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บ เรื่อง “อาณาจักรสุโขทัย” ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พิลาศลักษณ์ อาคมศิลป์. (2556). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบแอลทีรายวิชา คณิตศาสตร์ สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ วท.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

นันทิวัน พันดุง. (2554). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บ เรื่อง จักรวาลและอวกาศ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารราชพฤกษ์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา, 8(3), 94 - 99.

วินัย ปานเนาว์. (2554). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ เรื่อง คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วีรประวัติ ทองขอน. (2557). ผลของบทเรียนบนเครือข่ายที่อาศัยพื้นฐานการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เรื่องประชาคมอาเซียนที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. การศึกษาอิสระ ศษ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศุภลักษณ์ ปริสุทธิโกศล. (2557). ผลการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิจารณญาณ และความคงทนในการเรียนรู้ ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีการนำตนเองในการเรียนรู้ต่างกัน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(2), 191 - 200.

อรทัย โพธิเวชกุล. (2551). การพัฒนาชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะสำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวังน้อย. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อรษา จันทร์สว่าง. (2550). การจัดกิจกรรมการเรียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สังข์ทอง โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค Learning Together (LT). การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.