การศึกษากระบวนการทางธุรกิจและปัญหาของกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาบ้านอยู่อาศัย (Solar PV Rooftop) ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง None

Main Article Content

สุกัญญา มาปันสาย

Abstract

The objectives of this study were to examine business processes and potential problems of electricity generation from solar PV rooftop installations in lower northern region. The study also examined guidelines for business development to discover difficulties and roadblocks of operational process. The results of this study would determine the guidelines for future business development in electrical generating solar PV rooftop installation.


This is a qualitative study with a focus on in-depth interviews. The interviewees were chosen from the candidates applying for a license to operate in the energy business under the Office of Committee of Energy Regulation Database. The candidates drilled down to those applying for the solar PV rooftop installation business with installation size of less than or equal to 10 kWp. Conclusion from the interviews showed attractive incentive from joining the project due to the high purchasing price at 6.85 THB per unit with a contract of purchasing for up to 25 years which was a great guarantee of income in the midterm investment. Roadblocks in the business included the installation procedure, maintenance and cleaning, damaged equipment and sessional trends of demanding from solar energy products. However, most business owners agreed that this was an attractive business for investment due to lower competition and stable monthly income guarantee after initial capital burn, which was a so-called Passive Income. Therefore, the public sectors should promote more general public interest in solar cell on rooftops installment for the future sustainable energy plan of the country. The government should also support purchasing electricity to create motivation for installment, which is worth more than installment for household uses.  

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงพลังงาน. (2558). คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน “พลังงานแสงอาทิตย์”.
กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. 2561. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา www.pea.co.th
เกศินี ภาโนชิต; จิตติยา ไชยแสนและภูวนาท พิณตะคุ. “ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าเซลล์สุริยะเพื่อใช้ในชนบทห่างไกลในจังหวัดนครราชสีมา”. การศึกษารายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์โปรแกรมวิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2558.
คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน. (2556). ประกาศคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เรื่อง การรับซื้อไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา. ค้นเมื่อ 14 มกราคม 2558, จาก http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Upload/Document/2%20ประกาศ%20กกพ20Rooftop%20PV.pdf
คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน. (2558). ประกาศคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
เรื่อง การรับซื้อไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาประเภทบ้านพักอาศัย (สำหรับการรับซื้อไฟฟ้าเพิ่มให้ครบ 100 เมกะวัตต์). ค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2561, จาก http://www.ercorth/ERCWeb2/Front/Law/LawDetail.aspx?sectionID=1&CatId=1&SubId=27&rid=329&muid=24&prid=25
ณัฐนพิน บริบูรณ์, “การศึกษาแนวโน้มทางเลือกต่าง ๆ ของเทคโนโลยีโซล่าเซลล์ในอนาคต”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,2558. หน้า 2 – 4.
ดร.วรรณดี สุทธินรากร.(2556). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม.หน้า 148-159
ถนอมพล เกษโกมล,พิธิวัตร พระสุพรรณ์,นัฐกุล เมฆอรุณ. “ผลกระทบของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้ง บนหลังคาต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบจำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค”. การศึกษาตามหลกัสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557.
ทวิทย์ นองประโคน, “ปัจจัยความสำเร็จของนโยบายการส่งเสริมการใช้งานเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับประเทศไทย”.ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2552.
ทวีศักดิ์ นพเกษร.(2555). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่3. คณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 115.
ธนาพล ตันติสัตยกุล. “การประเมินมาตรการสนับสนุนทางการเงินสำหรับระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บนหลังคาที่พักอาศัยในประเทศไทย.” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23, ฉ. 4 (2558). 605-621. จาก http://tujournals.tu.ac.th/tstj/detailart/aspx?ArticleID=2725 (สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2562).
นิสิตา ชนะแก้ว, “ปัญหา อุปสรรคและต้นทุนการผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทย”. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการพลังงาน คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2555.
พิมพ์พรรณ กาเยนนท์, “การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ของการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา”. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.
พระวิศิษฏ์ ธมฺมรํสี (รัศมี), “ปัญหาและอุปสรรคในการบำรุงรักษาระบบโซล่าเซลล์ของโรงเรียนในเขตทุรกันดาร : โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านปิล๊อคคี่”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2560.
วรนุช แจ้งสว่าง. (2553). “พลังงานหมุนเวียน Renewable Energy”.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน. แผนยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน
ฉบับที่ 3. พ.ศ. 2561 –2564
สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน. 2561. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาwww.erc.or.th
สำนักงานพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2554). “พลังงานความร้อนและพลังงานไฟฟ้าจากพลังงาน
แสงอาทิตย์(Heat and Electricity from Solar Energy)” โครงการวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเพื่อชนบทและการพัฒนาที่ยั่งยืน ฝ่ายสนับสนุนงานวิจัย พัฒนาและวิศวกรรมและ
เสริมสร้างขีดความสามารถขององค์กร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
.(หน้า 93 – 105)
เอื้อมพร หลินเจริญ. (2555, กรกฎาคม).“เทคนิควิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ.” วารสารการวัดผล
การศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (ปีที่ 17 ฉบับที่ 1): 18.