การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิชา สังคมศึกษา ส31101 โดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับรูปแบบ การสอนโดยใช้ผังกราฟิก เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

ลัดดาวัลย์ จิ่มอาษา

Abstract

The objectives of this research were to: 1) study the current learning management and to develop a model for  the course of S31101 social studies based on constructivist Integrated with the graphic organizer to develop analytical thinking of grade 9. 2) develop a model for the course of S31101 social studies based on constructivist integrated  with the graphic organizer to develop analytical thinking of grade 9 students, effective 80/80. 3) trial management style learning in the course of S31101 social studies using the constructivist integrated with graphic organizer to develop analytical thinking for secondary grade 9 students and 4) to assess patterns of learning in S31101 social studies based on constructivist integrated with the graphic organizer to develop analytical thinking of grade 9 students. The samples were 28 students at Phuwatphittayakom school. Ubolrat district, Khonkaen Province, which is derived  from purposive sampling. The research design was the One-Group Pretest-Posttest. The research  instrument were  knowledge management plans, the learning achievement test, the analytical thinking test and the students’ satisfaction evaluation scale. Data were analyzed using statistic as the Mean, Standard Deviation, The Wilcoxon Matched–Pairs Signed–Ranks Test, and content analysis.


The research results  were as follows:


1) The study found that current learning management of learning activities, the lectures focused on rote learning rather than thinking training event focusing on knowledge rather than the development process. The results of the study to develop a style of learning that teachers must organize learning activities that focus on the learners. Activities learning process, especially the higher-order thinking.


         2) The development model called 4PS Model. The model management has 5 stages: 1) Preparation of Knowledge  2) Presentation and Learning Task 3) Procedures 4) Presentation and Ideas Sharing  5) Summary and model  for  the course of S31101 social studies based on constructivist  Integrated with the graphic organizer to develop  analytical thinking of grade 9 efficiency of 82.68 /81.25 higher threshold of 80/80


3) The results of model implementation were found that student achievement and analytical thinking posttest higher than pretest at the statistical level of significance .01.


4) The evaluation model that students are satisfied with the style of teaching S31101 social  studies  based  on constructivist  Integrated  with the graphic organizer to develop analytical thinking situated at the highest level (= 4.65).

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
เกริก ศักดิ์สุภาพ. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์ (PECA)
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จิระ ดีช่วย. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรักติวิซึมร่วมกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อ
เสริมสร้างมโนทัศน์ทางชีววิทยาและความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จุติพร อัศวโสวรรณ. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดคอนสตรัค
ติวิสต์เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทิศนา แขมมณี. (2559). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
________. (2556). การสอนคิดด้วยโครงงานการเรียนการสอนแบบบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
________. (2552). สอนวิทยาศาสตร์ด้วยความเข้าใจด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพ
วิชาการ.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). ทักษะแห่งชีวิตศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันตก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์.
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม. (2555). รายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม. ขอนแก่น: โรงเรียนพูวัดพิทยาคม.
________. (2559). หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมโรงเรียนพูวัดพิทยาคม. ขอนแก่น:
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2554). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 7. นครปฐม: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิมล ทองผิว. (2556). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้รูปแบบการสอนผังกราฟิก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบเอ็ด
พ.ศ. 2555 –2559. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน). (2555). รายงานประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพั้นฐาน ปการศึกษา 2555. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน.
สุพรรษา ชลสาคร. (2556). ผลของวิธีการสอนโดยใช้ผังกราฟิก ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะ การคิดวิเคราะห์ เรื่อง
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวัดกะโสม จังหวัดนครศรีธรรมราช.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Driver, Rosaline and Beverley Bell. (1986). Students, Thinking and Learning of Science : A Constructivist View.
School Science Review, 67(240): 443-456.