การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี

Main Article Content

มาดีน้า อินทมี

Abstract

The objectives of this research were to study and compare the operation of student caring and support system of school administrators under the Local Administrative Organization (LAO), Nong Khae district, Saraburi province, comprising five aspects: knowing individual student identification, student screening, problem prevention and resolution, student development and promotion, and transferring, classified by personal factors of teachers. The samples were 118 respondents, including school administrators and teachers-in charge of student caring and support system of primary schools under the LAO, Nong Khae district, Saraburi province in the academic year of 2016. The sample size was obtained through Krejcie & Morgan’s table and simple random sampling. The instrument was a set of questionnaires with the content validity between 0.60 to 1.00 and the reliability of 0.98. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test.


            The research findings were as follows: The operation of student caring and support system of school administrators under the LAO, in overall, was at a high level. The highest mean was the aspect of knowing individual student identification, followed by student screening aspect, prevention and solution, student promote and development and student transferring. The comparison result of the operational level of student caring and support system of school administrators under the LAO, Nong Khae district, Saraburi province, classified by gender, in overall and in each aspect was not different. In terms of educational level and work experience, there were different at a statistical significance level of .05, in overall and in each aspect.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงมหาดไทย. (2558). มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (16 มาตรฐาน 70 ตัวบ่งชี้) เพื่อการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. ส่วนวิชาการและมาตรฐานการศึกษาท้องถิ่น. สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงศึกษาธิการ.(2549). การประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์การศาสนา.
. (2549). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. กรุงเทพ.
กรมสุขภาพจิต. (2544). คู่มือครูที่ปรึกษาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กรุงเทพฯ. อิมเมจยูเรนัส.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2558). มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ.
กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา สพป.สระบุรี เขต 2. (2559). ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนความหมาย ความสำคัญ และคุณค่า.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ.
ณัฐริน เจริญเกียรติบวร. (2557). โมดูลบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฎฐวิภา คำปันศรี. (2559). สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และแนวทางการพัฒนาการดำเนินงาน
ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นฤบล กองทรัพย์. (2556). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. สารนิพนธ์ สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
นริศรา จูแย้ม. (2553). การศึกษาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.
พระครูวินัยธรบุณยกร ไกยะฝ่าย. (2560). การดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนพระปริยัติธรรม. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. (2542). แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 54. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (2547). แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553.
ภัทธีมา อาจอินทร์. (2558). ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนบ้านไพรพัฒนา
จังหวัดศรีสะเกษ. มหาวิทยาลัยสุโชทัยธรรมาธิราช.
รองรัตน์ ทองมาลา. (2558). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามทัศนะของผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสระบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
วินัย จันทรานาค. (2558). แนวทางการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิไล รุ่งโรจน์แสงจินดา. (2556). การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วยการใช้หลักจิตวิทยาของโรงเรียนประถมศึกษา เขตบางบอน สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2561). คู่มือการคัดเลือกสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประจำปี 2561. กระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.kksec.go.th/eoffice/docs4frontend/20-04-2018-13-43-2620180420134250-1060867141.pdf . (สืบค้นเมื่อ 04 ธันวาคม 2561)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กระทรวงศึกษาธิการ.
โอปอ ยังเหลือ. (2558). ปัญหาและแนวทางการพัฒนา การดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที และมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงามสังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2. มหาวิทยาลัยบูรพา.
Cole, David Akinola. (1999). An Analysis the Perception of the Role of High School Assistant Principal for Discipline and Supervision in Georgia School.Dissertation Abstract International.
Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Education and Psychological Measurement. USA: Texas A. & M. University.