ความร่วมมือระหว่างครูบรรณารักษ์และครูผู้สอน: กรณีศึกษากลุ่มการศึกษาพัฒนาคุณภาพแวงใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด

Main Article Content

พิชญาภา อนุวงศ์

Abstract

            In this survey research on collaboration between librarians and teachers: A Case of WangYai Educational Quality Development of PhonThong District, RoiEt Province. The purpose of this study was to study about the collaboration between the librarians and the teachers in the area above. This includes the stages of preparation, teaching step (operation), and evaluation. There were 10 schools that took part in this study. The research population consisted of 11 librarians and 93 teachers that were 104 people in total. A questionnaire was used as a research tool and statistics used for data analysis are frequency, percentage mean and standard deviation. The data was presented in a grid format.The research finds that the collaboration between teachers, librarians and teachers in overall is moderate according to librarian teachers' opinions and these consisted of 2 stages: preparation (µ=2.56) operation (µ=3.20) and evaluation (µ=2.09) Lastly, the result for the collaboration between librarians and the instructor regarding to teacher’s opinion is medium in all and theses including 3 stages that are preparation (µ = 3.04) and operation (µ =3.08) and evaluation (µ = 2.67)


 


Keyword:Collaboration, Librarians, teachers

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง
ดวงสุดา พิมพ์อึ่ง. (2546). การมีส่วนร่วมของครูบรรณารักษ์ในกระบวนการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัด
ขอนแก่น. การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นิตยา สุขศิริสันต์. (2535). การสอนโดยใช้ห้องสมุดของอาจารย์โรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐบาล. ปริญญานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิตสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ธารดี กลิ่นสุนทร. (2532). ความร่วมมือระหว่างครูและครูบรรณารักษ์เพื่อการสอน ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ในเขตการศึกษา 12. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภรณี ศิริโชติ และคณะ. (2556). การพัฒนารูปแบบของห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542.กลุ่มการจัดการสารสนเทศและการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วันทนีย์ ฤกษ์ประพฤติดี. (2540). การจัดการห้องสมุดโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วาณี ฐาปนวงศ์ศานติ. (2543). การจัดและบริหารงานห้องสมุด. กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ์.
สง่า พิชญวศิน. (2540). แนวทางพัฒนาการบริหารงานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสานักงานการประถมศึกษา จังหวัดลำพูน.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
______. (2557). รายงานโครงการห้องสมุดมีชีวิต ตามแผนปฏิบัติการโรงเรียน ปีการศึกษา 2557. สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. (เอกสารอัดสำเนา)
ราชกิจจานุเบกษา. (2543). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542.
เข้าถึงได้จาก www.moe.go.th/main2/plan/p-r-b2-01.pdfเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2560.
อภิรดี อั๋นประเสริฐ. (2554). การใช้ห้องสมุดเพื่อการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต 1. รังสิตสารสนเทศ, 17 (1).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

Mokhtar and Majid. (2006). An Exploratory Study of the Collaborative Relationship between Teachers and
School Librarians in Singapore Primary and Secondary Schools. Library and Information Science Research, 28(2): 265-280.