ความหมายทางการเมืองบางประการในภาพยนตร์เรื่อง “บั้งไฟ”
คำสำคัญ:
บั้งไฟ/ ความเชื่อ/ วิทยาศาสตร์/ ภาพยนต์กับการเมืองบทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาความหมายทางการเมืองในภาพยนตร์เรื่อง “บั้งไฟ” ของ คิม มอร์ดันท์ โดยใช้วิธีการตีความตัวบทเป็นเครื่องมือในการศึกษา และอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงการดำรงอยู่ และการปะทะกันระหว่างอิทธิพลของคติความเชื่อในเรื่องอำนาจเหนือธรรมชาติ ความเชื่อทางศาสนา กับอิทธิพลขององค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งชุดความรู้ ความเชื่อดังกล่าวเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อวิธีคิด และวิถีในการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคม อย่างไรก็ดีแม้ว่าชุดความรู้ทั้งสองสิ่งจะดูเหมือนว่าเป็นปฏิปักษ์กันอย่างสิ้นเชิง แต่ทั้งสองสิ่งสามารถที่จะดำรงอยู่ร่วมกันได้ในสภาวการณ์ที่เหมาะสมโดยที่ไม่เป็นปฏิปักษ์ซึ่งกันและกัน
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2541). การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์: แนวคิดและ
ตัวอย่างงานวิจัย. โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2557). การเมืองว่าด้วยการต่อสู้ทางชนชั้นในประเทศไทยจาก
พ.ศ.2535 ถึง พ.ศ. 2549. [วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย].
จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2528). รายงานการวิจัยเรื่องบทบาทของหมอลำต่อสังคมอีสาน
ในช่วงกึ่งศตวรรษ. สถาบันวิจัยศิลปและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
จูเลียน ฮักซ์ลีย์ และคณะ (2547). วิวัฒนาการแห่งความคิด: ภาคมนุษย์และ
โลก. (จุฑาทิพย์ อุมะวิชนี, ผู้แปล). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2551). ภาษากับการเมือง/ความเป็นการเมือง. โครงการ
ตำราและสิ่งพิมพ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไชยันต์ ไชยพร. (2557). นิธิ เอียวศรีวงศ์ ใน/กับวิกฤตการเมืองไทย. สำนักพิมพ์คบไฟ.
______. (มปท.). เอกสารอ่านประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับการศึกษาในแนวประวัติศาสตร์ความคดิทางการเมือง ปรัชญา การเมือง
และทฤษฎีการเมือง. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2537). การศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดไทย. เอกสาร
ประกอบการสัมนาเตรียมการวิจัย นักคิดไทย จัดโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.).
บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. (2552). ศิลปะแขนงที่เจ็ด เพื่อวัฒนธรรมการวิจารณ์
ภาพยนตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). พับบลิค บุเคอรี.
เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์. (2561). ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในประเทศไทยจนถึง
พ.ศ. 2475: การก่อรูป, การประชันความหมาย และการผสมผสาน.
[วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. ฐานข้อมูลงานวิจัย
(ThaiLis)
ยศ สันตสมบัติ. (2556). มนุษย์กับวัฒนธรรม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วัชรพล พุทธรักษา. (2557). บทสำรวจความคิดทางการเมืองของอันโตนิโอ กรัมชี่.
สำนักพิมพ์สมมติ.
วิสิฐ อรุณรัตนานนท์. (มปท.). ศิลปะในชีวิตประจำวัน [เอกสารไม่ได้มีการตีพิมพ์].
คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์. (2558). ศาสนายุคโพสท์โมเดิร์น. http://sinchaichao.
blogspot.com/2015/06/blog-post_63.html
สมเกียรติ วันทะนะ. (2561). โลกที่คิดว่าคุ้นเคย? ความคิดทางการเมืองไทยสมัยกรุง
ศรีอยุธยา พ.ศ. 1893-2310. ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมบัติ จันทรวงศ์. (2527). ตัวบท (The text) กับการเรียนการสอนวิชาปรัชญา
การเมือง. ศูนย์วิจัยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุมิตร ปิติพัฒน์. (2518). ศาสนาและความเชื่อของไทยดำ. โรงพิมพ์พิฆเณศ.
อคิน รพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด
เกียร์ซ. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ.
อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2561). การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง : แนวคิดและข้อ
โต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์. สยามปริทัศน์.
Gramsci, A. (1971). Selections from the Prison Notebooks, ed. Quintin
Hoare and Geoffrey Nowell Smith. Trans. Lawrenece Wishart.
Hoare, G. and Sperber, N. (2016). An Introduction to Antonio Gramsci
his life, Thought and Legacy. Bloomsbury Publishing PLC.
Red Lamp Films. (2013). The Rocket. https://redlampfilms.com/the-rocket
Red Lamp Films. (2014). Press. https://redlampfilms.com/the-rocket-press
Simon, R. (1999). Gramsci’s Political Thought An Introduction. The Electric
Book Company Ltd.
Skinner Quentin. (1969). Meaning and Understanding in the History of
Ideas. History and Theory. 8(1), 3-53.
The New York Times. (2014). MOVIE REVIEW. https://www.nytimes.com/
/01/10/movies/the-rocket-directed-by-kim-mordaunt.html
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะนิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์