การประท้วงกับวิกฤตโรคระบาด : บทสำรวจปรากฏการณ์ขบวนการประท้วงในการเมืองโลก
คำสำคัญ:
ไวรัสโคโรน่า, ขบวนการประท้วง, การเมืองโลกบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนอปรากฏการณ์ของขบวนการการประท้วงในช่วงที่มีสถานการณ์โรคระบาดปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาการระบาดของไวรัสโคโรน่า ทั้งนี้ได้ศึกษากรอบของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในการเมืองโลก (Social Movements in Global Politics) โดยแสดงให้เห็นว่าสถานการณ์ของขบวนการประท้วงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่ามาตั้งแต่ปี 2020 เป็นต้นมาในจนสร้างแรงกระเพื่อมในหลายประเทศ ล้วนเป็นการสะท้อนถึงการต่อสู้ในรูปแบบต่างๆ ในการเมืองโลก เช่น การต่อสู้เพื่อเปลี่ยนผ่านทางการเมือง การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น การต่อสู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ การต่อต้านการเหยียดผิว และการต่อต้านมาตรการล็อกดาวน์ อย่างไรก็ตามขบวนการประท้วงอาจไม่ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและระบบระหว่างประเทศมากนัก และต้องเผชิญกับมาตรการของรัฐในการควบคุมการแพร่ระบาดซึ่งเป็นอุปสรรคของการจัดขบวนการประท้วง
References
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2545). New Social Movement ขบวนการเคลื่อนไหวทาง
สังคมรูปแบบใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ: วิภาษา.
จันจิรา สมบัติพูนศิริ. (2563). สำรวจการประท้วงท่ามกลางวิกฤตโควิด-19: โลกเบลารุส และไทย. สืบค้นจาก http://www.polsci.tu. ac.th/direk/ view.aspx?ID=485
บีบีซีไทย. (2563). โควิด-19: ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ภัยคุกคามชาวโลกปี 2020, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ international -55217851
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2552). กรอบการวิเคราะห์การเมืองแบบทฤษฎีขบวนการทางสังคม. กรุงเทพ: มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์.
มณีมัย ทองอยู่. (2557). แนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาว่าด้วยขบวนการทางสังคมขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สมชัย ภัทรธนานันท์. (2560). ทฤษฎีขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและการประท้วงทางการเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ: อินทนิล.
Brannen, S. (2021). Global Political Protests and the Future of Democracy. Retrieved on May 10, 2021, from Center for Strategic and International Studies (CSIS). https://www.csis.org/analysis/ global- political-protests-and-future-democracy.
Carnegie Endowment for International Peace. Global Protest Tracker. Retrieved on May 10, 2021 from http://www.globalprotest tracker.org
Carothers, T. & Wong, D. (2020). Global Protests Start to Return. Retrieved from Carnegie Endowment for International Peace.https:// carnegieendowment.org/2020/06/30/global-protests-start-to-return-pub-82225
Davies,T. R. & Peña, A. M. (2019). Social movements and international relations: a relational framework [Electronic version]. Journal of International Relations and Development. 24, 51–76.
Deutsche Welle News. (2019). A year of protests, everywhere!. Retrieved From https://www.dw.com/en/2019-a-year-of-protests-everywhere/g- 51780409.
Pincknry J. & Rivers M. (2020). Sickness or Silence: Social Movement Adaptation to COVID-19 [Electronic version]. Journal of International Affairs, 73(2), 23-41.
Pleyers, Geoffrey. (2020). The Pandemic is a battlefield. Social movements in the COVID-19 lockdown. [Electronic version]. Journal of Civil Society, 16(4), 295-312.
Walker, R.B.J. (1994). Social Movements/World Politics, Millennium: Journal of International Studies, 23(3), 669-700. In Amoore, L. (Ed.). (2005). The Global Resistance Reader. London and New York: Routledge, 136-143.
West, David. (2013). Social Movement in Global Politics. Cambridge: Polity.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์