ประวัติศาลและระบบการพิจารณาคดีของไทย
คำสำคัญ:
ศาล, ไต่สวน, กล่าวหาบทคัดย่อ
ศาลและระบบการพิจารณาคดีในแต่ละยุคสมัย แต่ละประเทศ จะมีความแตกต่างกัน เนื่องจากพัฒนาการของสังคมและระบอบการปกครองมีความแตกต่างกัน ทำให้ระบบศาลและการพิจารณาคดีมีความแตกต่างกันไปด้วย ต่อมาประเทศต่างๆ มีการติดต่อเกี่ยวข้องกับประเทศอื่น จึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้นานาอารยประเทศยอมรับ เกิดการแก้ไขกระบวนการพิจารณาคดี การลงโทษ และปรับปรุงกฎหมาย อีกทั้ง จัดตั้งศาลให้สอดคล้องกับสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย ซึ่งในปัจจุบันศาลมีอยู่ 2 ระบบ คือศาลเดี่ยวและระบบศาลคู่ ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยใช้ระบบศาลเดี่ยว ตั้งแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประเทศไทยใช้ระบบศาลคู่ ส่วนระบบการพิจารณาคดีมี 2 ระบบ คือระบบกล่าวหาและระบบไต่สวน ในปัจจุบันประเทศไทยใช้ระบบกล่าวหาและระบบไต่สวน กล่าวคือศาลยุติธรรมและศาลทหารใช้ระบบกล่าวหา ส่วนศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองใช้ระบบไต่สวน ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับสังคมที่เปลี่ยนแปลง
References
กิจบดี ก้องเบญจภุช. (2561). หลักกฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
กิตติศักดิ์ ปกติ. (2556). การปฏิรูประบบกฎหมายไทยภายใต้อิทธิพลยุโรป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. (2549). บันทึกเรื่องการปกครองของไทยสมัยอยุธยาและต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีแพ่ง พ.ศ. 2477
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญา พ.ศ. 2477
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ และวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. 2539.
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2534.
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลายให้จัดตั้งศาลล้มละลาย พ.ศ. 2542.
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542.
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96 ตอนที่ 76 ฉบับ พิเศษ, 11 พฤษภาคม 2522, หน้า 1.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอน 25 ก., 8 เมษายน 2542, หน้า 10.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอน 94 ก., 10 ตุลาคม 2542, หน้า 1.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอน 70 ก., 30 สิงหาคม 2559, หน้า 1.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอน 107 ก., 20 ธันวาคม 2559, หน้า 10.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 10 ก., 24 มกราคม 2560, หน้า 24.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอน 34 ก., 20 มีนาคม 2562, หน้า 18.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอน 50 ก., 16 เมษายน 2562, หน้า 69.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 177 ตอน 7 ก., 8 กันยายน 2563, หน้า 1.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอน 10 ก., 6 กุมภาพันธ์ 2564, หน้า 1.
รุจน์ หาเรือนทรง. ระบบศาลของประเทศไทย, สืบค้นจาก https://www.sw2.ac.th /images /user/root/soc31102/04soc3110201. pdf
ศฤงคาร พันธุพงศ์. (2560). ประวัติศาสตร์ยุโรป 2 (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2542). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
หยุด แสงอุทัย. (2520). คำบรรยายความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Krusutee. (2553). ระบบศาลไทย. สืบค้นจาก http://krusutee.blogspot.com /2010/11/blogpost_07.html.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์