ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณค่าของงานกับประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางด้านการเงินและบัญชี ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ผู้แต่ง

  • เพ็ญศรี ชื่นชม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คำสำคัญ:

การรับรู้คุณค่าของงาน, ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน, บุคลากรทางด้านการเงินและบัญชี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้คุณค่าของงาน ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณค่าของงานกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางด้านการเงินและบัญชีในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำนวน 66 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้คุณค่าของงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และการรับรู้คุณค่าของงานกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางด้านการเงินและบัญชีในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). หลักสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: สามลดา.

กาญจนีย์ อินทร. (2553). ทัศนคติต่อการประกอบวิชาชีพผู้ทำบัญชีในจังหวัดเชียงใหม่.(การค้นคว้าอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ณัฐธิดา สุพรรณภพ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในการทำงาน คุณภาพ

ชีวิตในการทำงาน การรับรู้คุณค่าของงานและความเบื่อหน่ายในการทำงานของบุคลากรสายวิชาการ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

นิลุบล คงไมตรี. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบทางการบัญชีกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (ฉบับปรับปรุงใหม่) (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ไพศาล วรคำ. (2556). การวิจัยทางการศึกษา. มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.

วรรณภา โอฐยิ้มพราย. (2545). ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนจากองค์การพยาบาล การรับรู้คุณค่าของงานกับการสร้างสรรค์งานในองค์การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

สมใจ ลักษณะ. (2543). การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน. กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). ทักษะทางวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://fap.or.th. a33.readyplanet.net/ images/column_ 1359010350/3.pdf.

สรณีย์ จันทร์ฉาย. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความภาคภูมิใจในตนเองกับความกระตือรือร้นในการทำงานของนักบัญชีกรมสรรพสามิต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

อังคณา เบ็ญจศิล. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานทางการบัญชีที่ดีกับประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

อังครัตน์ เพรียบจริยวัฒน์. (2547). มาตรฐานการบัญชี. กรุงเทพฯ: บุญศิริ.

ไอลดา ศรีมานนท์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชี่ยวชาญทางการบัญชีสมัยใหม่กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของนักบัญชีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

Ahmadi, F. (2012). Job involvement in Iranian Custom Affairs Organization: The role of organizational justice and job characteristics. International Journal of Human Resource Studies, 2(1), p. 40.

Berberoglu, A., and Secim, H. (2015), Organizational commitment and perceived organizational performance among health care professionals:Empirical evidence from a private Hospital in Northern Cyprus. Journal of Economics and Behavioral Studies, 7(1), 64-71.

Gbadamosi, L., and Chinaka, N. J. (2011). Organizational politics, turnover intention and organizational commitment as predictors of employees’efficiency and effectiveness in academia.In Proceedings of Informing Science & IT Education Conference, 305-314. Retrieved January, 5 2020 ,จาก https://www. researchgate.net)

Getahun, S., Sims, B., and Hummer, D. (2008).Job satisfaction and organizational commitment among probation and parole officers: A case study. Professional Issues in Criminal Justice, 3(1), 1-16.

Hackman, J. R. and Oldham, G. R. (1980). Work Redesign. Massachusett: Addison-Wesley.

Kocak, R. (2006), The validity and reliability of the teachers performance evaluation scale. Educational Sciences: Theory and Practice, 6(3), 799-808.

Lee, S. C., Su, J. M., Tai, S. B., Lu, T. L., and Dong, W. W. (2016). A comprehensive survey of government auditors’ self-efficacy and professional development for improving audit quality. SpringerPlus, 5, 1263.

Mylona, E., and Mihail, D. (2019). Enhancing Employees’Work Performance through Organizational Justice in the Context of Financial Crisis. A Study of the Greek Public Sector. International Journal of Public Administration, 42(6), 509-519.

Ogunyemi, A. O (2007). Perceived leadership style, motivation and training as predictors of workers’ productivity in a manufacturing industry in Lagos State, Nigeria. Ogun Journal of Counseling Studies, 1(1), 76-83.

Rothmann, S. and L. Hamukang’andu. (2013). Callings, work role fit, psychological meaningfulness and work engagement among teachers in Zambia. South African Journal of Education, 33(2), 1−16.

Sabir, M. S., Iqbal, J. J., Rehman, K., Shah, K. A., and Yameen, M. (2012). Impact of corporate ethical values on ethical leadership and employee performance. International Journal of Business and Social Science, 3, 163 – 171.

Sari, W. P. I., Jamaluddin, J., Saleh, S., and Arhas, S. H. (2020). Influence of Compensation on Work Performance in the District Office of Bissappu, Bantaeng Regency. Jurnal Ad'ministrare, 6(2), 105-114.

Tayebiniya, N. K., and Khorasgani, N. S. (2018). The Relationship Between Workplace Spirituality and Job Performance Among Staff of Azad Islamic University, Iran. Humanities & Social Sciences Reviews, 6(1), 14-18.

Tong, L.(2018). Relationship between meaningful work and job performance in nurses. International journal of nursing practice, 24(2), e12620.

Van Wingerden, J., and Van der Stoep, J. (2018). The motivational potential of meaningful work: Relationships with strengths use, work engagement, and performance. PloS one, 13(6).

Zhao, J., Thurman, Q., and He, N. (1999). Sources of job satisfaction among police officers: A test of demographic and work environment models. Justice Quarterly, 16(1), 153–173.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-25