สภาวะการลื่นไหลในนักกีฬาไทย

ผู้แต่ง

  • ศาสตราวิทย์ วงศ์บุตรลีวัฒนา สาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

สภาวะการไหลลื่น, นักกีฬาไทย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวสภาวะการลื่นไหลในนักกีฬาไทยที่นักกีฬาควรรับรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้ก้าวไปสู่ความสำเร็จในการแข่งขันกีฬาโดยมีเป้าหมายคือการมีสภาวะการลื่นไหลไปกับการฝึกซ้อมและการแข่งขันกีฬาให้ประสบความสำเร็จตามที่ศาสตราจารย์ชิกเซนต์มิฮายยี ได้ค้นพบทฤษฎีเกี่ยวกับสภาวะการลื่นไหล 9 องค์ประกอบ ซึ่งประกอบไปด้วย 1.ความท้าทายและทักษะที่สมดุล 2. การรับรู้และการกระทำเข้าด้วยกัน 3. เป้าหมายที่ชัดเจน 4.การให้ข้อมูลย้อนกลับต้องไม่คลุมเครือ 5. มีสมาธิมุ่งมั่นอยู่กับสิ่งที่ทำ 6. ความรู้สึกแห่งการควบคุม 7. ขาดการตระหนักรู้ในตน 8. ไม่รับรู้การเปลี่ยนแปลงของมิติเวลา 9. รื่นรมย์กับประสบการณ์ และนำไปเชื่อมโยงกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ซึ่งสอดคล้องกับ อิทธิบาท 4 ประการ คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา จึงเป็นปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งที่ทาให้นักกีฬาสามารถประสบความสำเร็จ ทั้งด้านการฝึกซ้อมกีฬาและการแข่งขันกีฬาเป็นอย่างดี

References

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. งานบันดาลใจ (Inspiration at Work). สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2559, จาก https://th-th.facebook.com/IAtWork/

จีรัฐติกุล ต้นสายธนินท์. (2557). สภาวะลื่นไหลของนักกีฬาวอลเลย์บอลที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลระดับมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์การกีฬา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ดุสิต อุบลเลิศ. (2541). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ทางด้านจิตวิทยาการกีฬากับการนำไปใช้ของผู้ฝึกสอน. วารสารวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา, 2(2), 32-38.

พิชิต เมืองนาโพธิ์. (2542). จิตวิทยาการกีฬาและการออกกำลังกาย.ระยอง: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปกรณ์ ชื่นเชาว์ไว. องค์ประกอบของความสำเร็จทางการกีฬา. สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2559. จาก: http://www.welovepingpong.com

ภิญโญ รัตนาพันธุ์. ความดื่มด่ำแห่งการไหลลื่นของชีวิต. สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2559, จาก https://www.gotoknow.org

วิมลกานต์ โกสุมาศ. (2008). วิธีคิดอัจฉริยะ, สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.nationejobs.com

สืบสาย บุญวีรบุตร. (2541). จิตวิทยาการกีฬา. ชลบุรี: ชลบุรีการพิมพ์.

สุพิตร สมาหิโต. (2532). จิตวิทยาการกีฬา: การตื่นเต้น. จิตวิทยาการกีฬา ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุพิตร สมาหิโต. (2542). จิตวิทยาการกีฬาและการออกกำลังกาย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Carson, J. W., Carson, K. M., Porter, L. S., Keefe, F. J., & Seewaldt, V. L. (2009). Yogaof awareness program for menopausal symptoms in breast cancer survivors: results for a randomized trial. Support Care Cancer, 17, 1301-1309.

Csikszentmihalyi, M. (1975). Beyond boredom and anxiety. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

Csikszentmihalyi, M. (1988a). Introduction. In M. Csikszentmihalyi and I. S. Csikszentmihalyi (Eds.), Optimal experience: Psychological studies of flow in consciousness (pp. 3–14). New York: Cambridge University Press.

Csikszentmihalyi, M. (1990). Flow: The psychology of optimal experience. New York: n.p.

Csikszentmihalyi, M. (1992). A response to the Kimiecik and Stein and Jackson papers. Journal of Applied Sport Psychology, 4, 181–183.

Csikszentmihalyi, M. (1993). The evolving self: A psychology for the third millennium. New York: n.p.

Csikszentmihalyi, M. (2000). The contribution of flow to positive psychology. In M. E. P.: Templeton Foundation Press.

Seligman and J. Gillham (Eds.). The science of optimism and hope. Philadelphia: Templeton Foundation Press.

Csikszentmihalyi, M. (2000b). Beyond boredom and anxiety. San Francisco: Jossey-Bass Publishers. (Original work published 1975)

Csikszentmihalyi, M. (2002). Flow – The classic work on how to achieve happiness. London: Rider Books. (Original work published 1992)

Csikszentmihalyi, M., and R. Larson. (1984). Being adolescent: Conflict And growth in the teenage years. New York: n.p.

Jackson, S. A. (2009). The flow scales instrument and scoring guide. Menlo Park, CA: Mind Garden.

Jackson, S. A., & Csikszentmihalyi, M. (1999). Flow in sports: The keys to optimal experiences and performances. Champaign: Human Kinetics.

Jackson, S. A., & Eklund, R. C. (2004). The flow scales manual. Morgantown: Fitness Information Technology.

Jackson, S. A., & Marsh, H. W. (1996). Development and validation of a scale to measure optimal experience: The Flow State Scale. Journal of Sport & Exercise Psychology, 18, 17-35.

Jackson, S. A., Martin, A. J., & Eklund, R. C. (2008). Long and short measures of flow:The construct validity of the FSS-2, DFS-2, and new brief counterparts. Journal of Sport & Exercise Psychology, 30, 561-587

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-01