ว่าด้วยแนวคิดการบริหารจัดการปกครองท้องถิ่นบนฐานเครือข่ายความร่วมมือ
คำสำคัญ:
เครือข่ายนโยบาย, เครือข่ายความร่วมมือ, การบริหารจัดการปกครองท้องถิ่นบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนความเป็นมาและแนวคิดการบริหารจัดการปกครองท้องถิ่นบนฐานเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย ในบทความได้กล่าวเสนอถึงแนวคิดการริเริ่มเครือข่ายความร่วมมือร่วมกัน การมีตัวแสดงในเครือข่ายความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ตัวแสดงในเครือข่ายความร่วมมือมีบทบาททั้งในด้านการวางแผน ตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติ แลกเปลี่ยน และระดมทรัพยากร มีการจัดโครงสร้างการทางานร่วมกัน และมีเป้าหมายร่วมกัน
References
แก้วคำ ไกรสรพงษ์. (2551). เครือข่ายนโยบายในคำและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดำรงค์ วัฒนา และคณะ. (2544). โครงการศึกษาเบื้องต้นเรื่อง “ระบบการบริหารจัดการท้องถิ่น”. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนวิจัย.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2551). ทฤษฎีและแนวคิดการปกครองท้องถิ่นกับการบริหารจัดการท้องถิ่น (ภาคแรก). กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. (2546). ทิศทางการปกครองท้องถิ่นของไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
นรนิติ เศรษฐบุตร และคณะ. (2545). “การเสริมสร้างสมรรถนะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : โครงการวิจัยร่วมกันระหว่างไทยและญี่ปุ่น”.กรุงเทพฯ: กรมการปกครอง.
พัชรี สิโรรส. (2557). พลวัตนโยบายสาธารณะ : จากรัฐ เอกชน สู่ประชาชน : ประมวลผลงานทางวิชาการของ รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี สิโรรส. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
พัชรี สิโรรส และคณะ. (2558). “การศึกษาการจัดการปกครองในมิตินโยบายศึกษา : ทาความเข้าใจการจัดการปกครอง (Governance) เครือข่ายของการจัดการปกครอง (Governance Network) และอภิเครือข่ายการจัดการปกครอง (Metagovernance)” ในเปิดกล่องนโยบายสาธารณะ (Unpacking Public Policy) : หลากมุมมองในการศึกษานโยบายสาธารณะร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและสิ่งพิมพ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วสันต์ เหลืองประภัสร์. (2559). การรวมศูนย์อำนาจและการกระจายอำนาจกับการบริหารราชการแผ่นดินไทย การทบทวนแนวคิด ข้อถกเถียง และข้อพิจารณาเพื่อการปฏิรูป. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
วสันต์ เหลืองประภัสร์ และคณะ. (2555). “การศึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทาง/รูปแบบและวิธีการในการส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำบริการสาธารณะ”. ใน โครงการศึกษาและพัฒนาระบบและวิธีการทำงานเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาสังคมในการจัดทำบริการสาธารณะ, รายงานวิจัย เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วสันต์ เหลืองประภัสร์ และคณะ. (2557). “การศึกษาและรวบรวมตัวอย่างการบริหารจัดการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaborative Governance) ระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน”. รายงานวิจัย เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ (สสส.). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2550). เครือข่าย : นวัตกรรมการทางานขององค์กรปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วุฒิสาร ตันไชย. (2557). การกระจายอำนาจและประชาธิปไตยในประเทศไทย กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. เสรีนิยมใหม่,” วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 43(2), 7-43.
อัมพร ธำรงลักษณ์. (2553). การบริหารจัดการปกครองสาธารณะ : การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โครงการตาราและสิ่งพิมพ์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา. (2551). Governance: การจัดการปกครอง/วิธีการปกครองและการจัดการปกครองที่ดี/ธรรมาภิบาล ในคำและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2557). แปรถิ่น เปลี่ยนฐาน : สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานประชาธิปไตย.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Agranoff, Robert and McGuire Michacl. (2001). “Big Questions in Public Network Management Research.” Journal of Public Administration Research and Theory 11(3), 296.[Online]. Retrieved from http://ipaa.ir/files/site1/pages/Big%20questions %20in%20Public%20Network% 20Management%20research.pdf (accessed December 4, 2016).
Dahl, Robert A. (1977). Modern Political Analysis. (3rd ed). New Delhi: Prentice-Hall of India. Kurian,
George Thomas. (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
Leach, Robert. (2011). British politics, (2ened). Basingstoke: Palgrave Macmillan.
Putnam, Robert D. (1993). Making Democracy Work: Civic Traditions in Modern Italy. Princeton: Princeton University Press.
World Bank. (1989). Sub-Saharan Africa: From Crisis to Sustainable Growth. Washington D.C.: World Bank.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์