ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์การและการจัดการ
คำสำคัญ:
องค์การ, การจัดการ, ผู้จัดการบทคัดย่อ
แนวคิด “องค์การและการจัดการ” ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของศาสตร์ทางด้านการบริหาร และถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายจนทำให้เกิดองค์การภาครัฐ องค์การภาคเอกชน และองค์การไม่แสวงหากำไร องค์การเป็นหน่วยสังคมที่มีการกระทำกิจกรรมร่วมกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีโครงสร้างการทำงาน มีการแบ่งงานกันทำ และมีการจัดการงานโดยทรัพยากรมนุษย์ในองค์การที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบแตกต่างกันไปตามลักษณะของงาน ซึ่งการเกิดขึ้นของการศึกษาองค์การและการจัดการนี้ ก็เพื่อทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และบุคลากรสามารถทำงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่องค์การวางไว้
References
กัญญมน อินหว่าง และคณะ. (2550). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
พยอม วงศ์สารศรี. (2534). การบริหารบุคคล. กรุงเทพฯ: พรานนกการพิมพ์.
พัชสิรี ชมพูคา. (2552). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ แมคกรอฮิล.
พิทยา บวรวัฒนา. (2544). ทฤษฎีองค์การสาธารณะ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมลจรรย์ นามวัฒน์ (2544). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: เท็กซ์แอนด์ เจอร์นัล.
วรัชยา ศิริวัฒน์. (2554). การบริหารร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วันชัย มีชาติ. (2555). การบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2550). การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2545). การบริหาร หลักการ ทฤษฎีประเด็นทางการศึกษาและบทวิเคราะห์องค์การศึกษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: พิมพ์พิสุทธิ์.
วีณา พึงวิวัฒน์นิกุล. (2555). สัมมนาการบริหารองค์การในภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2542). ทฤษฎีและแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: (ม.ป.พ.).
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ พัฒนาศึกษา.
สมคิด บางโม.( 2538). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์.
เสน่ห์ จุ้ยโต. (2551). องค์การสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อนุรัตน์ อนันทนาธร และปาริฉัตร ป้องโล่ห์. (2559). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการการบริหารในยุคโลกาภิวัตน์. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2560, จาก http:// polsci-law.buu.ac.th/home/news/download/ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารในยุคโลกาภิวัฒน์.pdf
อุทัย บุญประเสริฐ. (2545). การวางแผนการศึกษา. กรุงเทพฯ: เอส ดีเพรส.
Certo, S.C. & Certo, S.T. (2006) .Modern Management (10th ed). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education Inc.
Fayol, H. (1949). General and industrial management. (C. Storrs, Trans.). London: Pitman. (Original work published 1916).
Gulick, L. & Urwick, L. (1937). Paper on the Science of Administration. New York: Institute of Public Administration.
Henry, N. (1999). Public Administration and Public Affairs (7th ed). N.J : Prentice Hall.
Robbins, S. P. & DeCenzo D. A. (2004). Fundamentals of management : essential concepts and applications (4th ed). London: Prentice Hall.
Weihrich, H. & Koontz, H. (1994). Management: A Global perspective. Singapore: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์