ผลของโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรมเป็นฐานต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ Effects of Cognitive Behaviour Based Group Counseling Program on Female Undergraduate Students’ Depression at a University in Chiang Mai

Main Article Content

เมธาพร เฉลิมเขตต์ Methaporn Chalermket

Abstract

The purpose of this quasi-experimental research was to examine the effects of cognitive behaviour based group counseling program on female undergraduate students’ depression at a university in Chiang Mai. The sample included twenty-eight female undergraduate students. Samples were divided into an experimental group and a control group 14 people each group. Thai Depression Inventory and cognitive behaviour based group counseling program were used to collect data. Using independent and dependent t-test analyze the data. The results revealed that after receiving program, the experimental group had decreased for the mean scores of depression than before receiving the experiment and lower than the control group at the .05 level. Furthermore, the control group had increased for the mean scores of depression than before the experiment and higher than the experimental group at the .05 level.

Article Details

Section
Dissertations
Author Biography

เมธาพร เฉลิมเขตต์ Methaporn Chalermket, Faculty of humanities, Chiang Mai University

Student in Master of Science Program in Counseling Psychology

References

1. กรมสุขภาพจิต. กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิตปีงบประมาณ 2560. ในโครงการสัมมนาขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตตามมาตรฐานส่งเสริมและป้องกันในระดับจังหวัด. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
2. กรมสุขภาพจิต. คณะกรรมการบริหารโครงการทศวรรษการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า ปี 2563, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, และพยาบาลจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต. (2554, มิถุนายน). แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อการบำบัดทางสังคมจิตใจผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับพยาบาลจิตเวชในสถานบริการระดับตติยภูมิ. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
3. ขวัญจิต มหากิตติคุณ. (2548). ผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อภาวะซึมเศร้าในเด็กวัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, (สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
4. ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร และคณะ. (ม.ป.ป.). การบำบัดผู้ป่วยโรคซึมเศร้าโดยเทคนิคการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
5. ดวงใจ วัฒนสิทธุ์. (2559). การป้องกันภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น: จากหลักฐานเชิงประจักษ์สู่การปฏิวัติ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 24(1), 1-12.
6. ดุษณี ชาญปรีชา, สุกุมา แสงเดือนฉาย, นันทา ชัยพิชิตพันธ์, สำเนา นิลบรรณ, ญาดา จีนประชา, และธัญญา สิงโต. (บรรณาธิการ). (2559). คู่มือการบำบัดความคิดและพฤติกรรมในผู้ป่วยเมทแอมเฟตมีนที่มีภาวะซึมเศร้า. ม.ป.ท.: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
7. ดาราวรรณ ต๊ะปินตา. (2555). ภาวะซึมเศร้า: การบำบัดและการให้คำปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.
8. นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์. (2559). ภาวะซึมเศร้า. วารสาร มฉก.วิชาการ. 19(38), 105-118.
9. มาโนช หล่อตระกูล, และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2542). แบบประเมินวัดความรุนแรงของระดับ
ภาวะซึมเศร้าชนิดให้ผู้ป่วยตอบแบบสอบถามเอง. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 20(1), 17-19.
10. ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย, ชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย, และสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต. (2560). แนวทางการดูแลวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้า. ม.ป.ท.: สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์.
11. วัลลภา กิตติมาสกุล. (2560). ผลของโปรแกรมการบำบัดความคิดและพฤติกรรมต่ออาการซึมเศร้าของวัยรุ่นที่ถูกทารุณกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
12. วิชาภรณ์ คันทะมูล, และปราโมทย์ สงศ์สวัสดิ์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิด
ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 10(3), 83-92.
13. ศิริลักษณ์ ปัญญา. (2556). ผลของจิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
14. สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล, สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, ธรณินทร์ กองสุข และสุภาพร จันทร์สาม. (2558). โรคซึมเศร้า...ความสูญเสียอันยิ่งใหญ่แห่งมวลมนุษยชาติ (Depressive Disorder : The Greatest Disability on Mankind). Newsletter การประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 14 และการประชุมวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็ก วันที่ 16 มิถุนายน 2558, สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2561, จาก http://aimhc.net/_admin/download/4-4-1434970449.pdf
15. สารรัตน์ วุฒิอาภา. (2553). Effectiveness of a school-based cognitive behavioural therapy program for Thai adolescents with depression. Master’s thesis, Chiang Mai University, Chiang Mai.
16. Beck, A. T. (1979). Cognitive Therapy of Depression. United States of America: The Guilford Press.
17. Charkhandeh., Mansoureh, A. T., Mansor, H., & Caroline, J. (2016, May), The clinical effectiveness of cognitive behavior therapy and an alternative medicine approach in reducing symptoms of depression in adolescents. Psychiatry Research, 239, 325-330.
18. Harvard Medical School. (2011). Types of psychotherapy. Retrieved February 22, 2018, from https://www.health.harvard.edu/mind-and-mood/types-of-psychotherapy
19. Kristina, F., Majella B. (2013, September). The key principles of cognitive behavioural therapy. InnovAiT. 6(9), 579-585.
20. Soheila, K., Azizreza, G., Maryam, S., Elaheh, M., & Taiebeh, Z. (2012, September), Effects of group counselling with cognitive-bahavioral approach on reducing divorce children’s depression. Social and Behavioral Sciences, 46, 77 – 81.
21. World Mental Health, (2012). Depression: A Global Crisis World Mental Health Day. N.P.: n.p.
22.World Mental Health, (2017). Depression: let’s talk. Retrieved February 15, 2018, from http://www.who.int/mental_health/management/depression/en/