ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 The Effects of Learning Management with the Science Teaching Package Solar on the System on Achievement and Attitude Toward Science of Prathomsuksa 4 Students

Main Article Content

กนกวรรณ หาญกาย Kanokwan Hanokwan
ฉัตริยะ ศิริสัมพันธ์วงษ์ Chattariya Sirisumpanwong

Abstract

Abstract


The purposes of this research were to construct and find the effectiveness of science instructional package, study the effective index  of the instructional package in science, compare the achievement in science of Prathomsuksa 4 student before and after being taught by using the instructional package , and 4 study the attitudes of Prathomsuksa 4 students towards science subject taught by the instructional package in science. The samples were Prathomsuksa 4 students at Mary school, Meuang district, Nakhon Sawan, under Nakhon Sawan Primary Education Service Area Office 1, first semester in the 2017 academic year. The samples were 40 people, selected by Cluster sampling. The research instruments were the Instructional Package in Science on Science on Substance and Classification for Prathomsuksa 4 Students, the science achievement test on substance, measure attitudes toward science article 20 . The statistics used to compare differences in achievement before and after learning. The test marked the first use of William's stall. By comparison, statistics used to measure attitudes towards science subjects using average and standard deviation S.D. against the criteria.


                The research findings are as follows: The developed instructional package in science had the high value of 82.65/88.75. The valued effectiveness index of 0.61, The achievement in science of Prathomsuksa 4 students taught by using the instructional package after being taught was higher than before with statistical significance at the .05 level, The attitudes of the Prathomsuksa 4 students towards science subject taught by instructional package in science were at the high level.

Article Details

Section
Dissertations

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุศยา แสงเดช. (2545). ชุดการสอน. กรุงเทพฯ: แม็ค.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2543). กระบวนการสื่อสารการเรียนการสอน. นนทบุรี: โรงพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี. (2551). 14 วิธีสอน สำหรับครูมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธันยาภรณ์ กองสิงห์. (2555). การพัฒนาชุดการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารละลายกรด-เบส สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

นาริน เงินบำรุง. (2552). การพัฒนาชุดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานแสงและระบบสุริยะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

เนรมิต โสภาพ (2551). การสร้างชุดการสอน เรื่อง การพัฒนาชุดการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องดินและธาตุอาหารหลักของพืช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (การประถมศึกษา). ยโสธร.

บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เอสอาร์พริ้นติ้ง.

ประวิทย์ อ้อยเธียรชัย. (2544). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สอนโดยวิธีสอนแบบมีส่วนร่วมกับวิธีสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปกร.

ปรียาพร วงค์อนุตรโรจน์. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

พิชิต ฤทธิ์จรูล. (2545). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เฮาส์ออฟ เคอร์มีสท์.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). ประมวลบทความการเรียนการสอนและการวิจัยระดับมัธยมศึกษา.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภพ เลาหไพบูลย์. (2542). แนวการสอนวิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2549). การวัดผลและสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สุจิตตรา เพียสีนุ้ย (2548). การสร้างชุดการสอน เรื่อง จักรวาลและอวกาศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เน้นการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. (การประถมศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

Meek, E.B. (1972, February). “Learning packages versus conventional method of instruction, Dissertation Abstracts International. 33 (10) : 4295 – 4296.