สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างที่เป็นธรรมกับคุณค่าความเป็นมนุษย์ Built Environment for Fairness and Human Dignity

ผู้แต่ง

  • Tapone Nimsawaeng ตะโพน นิ่มแสวง
  • Singh Intrachooto สิงห์ อินทรชูโต

บทคัดย่อ

การพัฒนาเศรษฐกิจในยุคที่อุตสาหกรรมได้เข้ามามีบทบาทสำคัญส่งผลให้เกิดความไม่เสมอภาคของคนในสังคม ความเสมอภาค (Equality) นี้มิได้หมายถึง ความเท่ากัน (Sameness) หากแต่มีความหมายถึง ความเป็นธรรมด้านการจัดการ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อคนทุกกลุ่มอย่างเสมอภาคความเสมอภาคทางสังคมมิได้หมายถึง ความเสมอภาคทางด้านรายได้เพียงอย่างเดียว ความเสมอภาคด้านการเข้าถึงโอกาสหรือคุณภาพของพื้นที่ว่างต่างๆ ในการดำรงชีวิต เช่น คุณภาพของสถานที่ทางการศึกษา สาธารณสุขและการแพทย์ คุณภาพที่อยู่อาศัย และสิ่งต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดความสุขและความภาคภูมิใจในชีวิตล้วนแล้วแต่มีสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างของคนในสังคมเข้าไปเกี่ยวข้องในสังคมสมัยใหม่ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการบริโภคเป็นสิ่งที่สามารถคัดแยกแสดงออกถึงระดับของคุณลักษณะหรือสร้างตัวตนให้กับผู้ใช้ได้ และในสังคมที่มีความเสมอภาคน้อยนั้นมักจะสะท้อนออกมาให้เห็นในแง่ของคุณภาพสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างที่มีความแตกต่างมากเช่นกัน

References

Abhakaro, S. & Intonsuwan, K. (2010). Sustainable Community Happiness Indicators [In Thai: ตัวชี้วัดความสุข: กลยุทธ์การสร้างและการใช้เพื่อชุมชนเป็นสุข]. Bangkok: Learning Institute for Community Happiness.

Achavanuntakul, S. (2011). A Little Book of Inequality [In Thai: ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา]. Bangkok: Pen Thai. Retrieved October 12, 2015, from https://www.goodreads.com/ebooks/download/20655687

Carter, I. (2013). Basic Equality and the Site of Egalitarian Justice. Economics and Philosophy, 29(1), 21 – 41.

Downs, T., Ross, L., Patton, S., Rulnick, S., Sinha, D., Mucciarone, D., … Goble, R. (2009). Complexities of holistic community-based participatory research for a low income, multi-ethnic population exposed to multiple built-environment stressors in Worcester, Massachusetts. Environmental Research, 109, 1028 – 1040.

Kaewlai, P. (2002). Shopping Center/Shopping Mall: Architecture of the Spectacle, Abstract Machine and Urbanism in the 21st Century [In Thai: ศูนย์การค้า: สถาปัตยกรรมเพื่อความตื่นตาตื่นใจ จักรกลเชิงนามธรรม กับวิถีชีวิตเมืองในศตวรรษที่ 21]. Journal of Architectural/Planning Research and Studies, 1, 157 – 177.

Karnchanaporn, N. (2014). Rehearsing the Meanings of Domesticity [In Thai: ทำความเข้าใจ ‘พื้นที่และวิถีของการอยู่อาศัย’]. In S. Suwatcharapinun (Eds.), Towards Architectural Theories: Public Social Space (pp. 167 – 182). Chiang Mai: Chiang Mai University.

Kawachi, I. & Berkman, L.F. (2001). Social Ties and Mental Health. Journal of Urban Health, 78, 458 – 467.

Liff, S. & Wajcman, J. (2007). ‘Sameness’ and ‘Difference’ Revisited: Which Way Forward for Equal Opportunity Initiatives? Journal of Management Studies, 33, 79 – 94.

McClure, W. & Bartuska, T. (2007). The Built Environment: A Collaborative Inquiry into Design and Planning. (2nd ed.). New Jersey: Wiley.

Panyarachun, A. (2010). Thailand Reformation Guidelines [In Thai: แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย]. Proceeding of Inequality Reducing and Economic Opportunities Creating. Bangkok: Organized by Bangkok Convention Center.

Phongphaichit, P. (2011). Inequality and Injustice in Access to Resources and Basic Services in Thailand [In Thai: ภาพรวมของความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการพื้นฐานของประเทศไทย]. Bangkok: Chulalongkorn University. Retrieved October 12, 2015, from http://www.cca.chula.ac.th/lecture_series/images/stories/pdf/inequality-injustice01.pdf

Sallis, J. F., Slymen, D. J., Conway, T. L., Frank, L. D., Saelens, B. E., Cain, K., & Chapman, J. E. (2011). Income disparities in perceived neighborhood built and social environment attributes. Health & Place, 17, 1274 – 1283.

Tantuvanit, N. (2014). Urban and Modernity: Theoretical Approaches [In Thai: แนวการวิเคราะห์สังคมเมืองกับความเป็นสมัยใหม่]. Journal of the Thai Khadi Research Institute. 11, 1 – 35.

Teungfung, R. & Choiejit, R. (2015). Socio-Economic Security and Happiness of Bangkok Residents [In Thai: ความมั่นคงทางเศรษฐกิจสังคมกับความสุขของประชากร ในเขตกรุงเทพมหานคร]. Journal of Social Development, 17, 111 – 133.

Valipodom, V. (2011). Gross National Happiness of Bhutan People and Gross National Suffering of Thai People [In Thai: ความสุขประชาชาติของคนภูฏานกับความทุกข์ประชาชาติของคนไทย]. Retrieved November 3, 2015, from http://lek-prapai.org/home/view.php?id=262

Warburton, N. (2013). A Little History of Philosophy [In Thai: ประวัติศาสตร์ปรัชญา ฉบับกะทัดรัด] (Y. Prabda & R. Chaipiyaporn, Trans.). Bangkok: Typhoonbooks.

Wilkinson, R. (2012). The Spirit Level: Why Equality is Better for Everyone [In Thai: ความ (ไม่) เท่าเทียม] (S. Achavanuntakul, Trans.). Bangkok: Openworlds.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-07-01

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ Viewpoint