การใช้น้้าสกัดชีวภาพเพื่อสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ The Use of Bio-extract Water for Environment at Schools and Other Organizations

ผู้แต่ง

  • Tangon Munjaiton แตงอ่อน มั่นใจตน

บทคัดย่อ

สัมภาษณ์ การเก็บข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ t-test ผลการศึกษา พบดังต่อไปนี้ ส้าหรับการผลิตน้้าสกัดชีวภาพ วัตถุดิบที่ใช้ในการหมัก คือ เปลือกผัก ผลไม้สด แหล่งวัตถุดิบหลัก 3 แหล่ง คือ 1. ห้องอาหารของหน่วยงาน 2. ร้านค้าที่รู้จัก และ 3. ตลาดสด ส้าหรับปริมาณวัตถุดิบ ที่ใช้ในการท้าน้้าสกัดชีวภาพจาก 213 หน่วยงานในปี 2549 รวมจ้านวน 889,730 กิโลกรัม หน่วยงานที่ท้ามากที่สุดคือ ตลาดสด กิจกรรมที่ใช้น้้าสกัดชีวภาพ เรียงจากมากไปน้อยคือ 1. ใช้เพื่อย่อยสลายสิ่งปฏิกูล 2. ใช้รดไม้ดอก/ไม้ประดับ 3. เทลงท่อระบายน้้า 4. ใช้ล้างพื้น ล้างห้องน้้า ล้างครัว และ 5. ใช้ในการฟื้นฟูคลอง ผลลัพธ์จากการใช้น้้าสกัดชีวภาพ พบว่า ท้าให้ค่า BOD ของน้้าทิ้งลดลงหลังมีการใช้น้้าสกัดชีวภาพค่าใช้จ่ายในการซักล้าง ล้างพื้นลดลง ความสะอาด กลิ่น จากการซักล้าง การจัดการสิ่งปฏิกูลดีขึ้นกว่าใช้ผลิตภัณฑ์เดิม และการรบกวนจากแมลงต่างๆ ต้นไม้หลังมีการใช้น้้าสกัดชีวภาพมีการเติบโตดีขึ้น สภาพคูคลองข้างหน่วยงานมีสภาพดีขึ้นหลังมีการใช้น้้าสกัดชีวภาพ ส้าหรับปัญหาเกี่ยวกับการท้าน้้าสกัดชีวภาพ พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา ปัญหาที่มีบ้าง คือ สถานที่คับแคบ การไม่มีผู้รับผิดชอบและปัญหาเรื่องกลิ่นของน้้าสกัดชีวภาพ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ 1. ควรมีการส่งเสริมการท้าและใช้น้้าสกัดชีวภาพอย่างกว้างขวาง 2. ควรมีการศึกษาวิจัย และเผยแพร่เกี่ยวกับผลลัพธ์จากการใช้น้้าสกัดชีวภาพและผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้มากขึ้น

Downloads

ฉบับ

บท

บทความวิจัย Research