บทวิเคราะห์อุตสาหกรรมรังนกจากบ้านนกในประเทศไทยและ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการส่งเสริมนกแอ่นกินรังเป็นสัตว์เศรษฐกิจ

ผู้แต่ง

  • แสงสรรค์ ภูมิสถาน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สมหญิง ทัฬหิกรณ์ สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
  • อนุชา มุมอ่อน สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
  • เอกชัย ก่อเกียรติสกุลชัย สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
  • วีรชัย สุดดี สำนักควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์
  • ดวงดาว รักษากุล สำนักควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์
  • จามร ศักดินันท์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กรมปศุสัตว์
  • จีรจิต ดิศสนะ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
  • วนัท พุ่มพวง คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านนกแอ่นกินรัง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jem.2021.13

คำสำคัญ:

นกแอ่นกินรัง, อุตสาหกรรมรังนก, สัตว์เศรษฐกิจ, ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

บทคัดย่อ

     การเก็บรังของนกแอ่นกินรังเพื่อการค้าเป็นที่รู้จักกันมาเป็นเวลาช้านานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็น สินค้าทางการเกษตรที่มีมูลค่าสูง ปัจจุบันประเทศไทยกำลังอยู่ในก้าวที่สำคัญต่อการส่งเสริมให้นกแอ่นกินรังเป็นสัตว์เศรษฐกิจของชาติอย่างถูกต้องตามกฎหมายโดยหน่วยงานต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมรังนกจากบ้านนกในประเทศไทย โดยการศึกษาจากการทบทวนวรรณกรรมจากบทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับภาคนโยบาย และการจัดการบ้านนกแอ่นกินรังของประเทศไทย และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมรังนกจากบ้านนกในประเทศไทย จากผลการศึกษาได้นำเสนอการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการประกอบกิจการบ้านนกในประเทศไทย และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการส่งเสริมนกแอ่นกินรังเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ในประเด็นต่างๆ ได้แก่ ความชัดเจนในเรื่องกฎระเบียบ ประเด็นความขัดแย้งในชุมชน และการส่งเสริมให้เกิดงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการจัดการบ้านนกแอ่นกินรังของของประเทศไทยในระยะยาวต่อไป

References

Bangkokbiznews. (2016). Edible Bird's Nest - High-Value Business in Food Sovereignty Period. retrieved May 31, 2016, from http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/638361.

Department of International Economic Affairs. (2021). Bird's nest has become a popular food product among young people. retrieved May 20, 2021, from https://globthailand.com/china_0182.

Department of National Park, Wildlife and Plant Conservation. (2014). Export Statistics of Bird's Nest in Thailand (2545–2557 B.E.). Wildlife Conservation, Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation, Bangkok, Thailand.

Department of Standards Malaysia. (2012). Malaysian Standard: Good Animal Husbandry Practice – Edible-nest Swiftlet Ranching and its Premises (First Revision). Department of Standards Malaysia, Malaysia.

Food and Agriculture Organization of The United Nations. (2003). Development of a Framework for Good Agricultural Practices. FAO Committee on Agriculture (17th Session).

Hao, L. And O. Rahman. (2016). Swiftlets and edible bird’s nest industry in Asia. The Pertanika Journal of Scholarly, (1), 32–48.

Ibrahim S.H., W.C. Teo, Baharun A. (2009). A study on suitable habitat for swiftlet farming. Journal of Civil Engineering, Science and Technology, 1(1), 1–7.

Idris, A., A.A. Abdullah and M. Rehman. (2014). An overview of the study of the right habitat and suitable environmental factors that influence the success of edible bird nest production in Malaysia. Asian Journal of Agriculture Research, 8(1), 1 – 16.

Kamaruddin, R. (2019). Key factors for the sustainable production of swiftlet birds’ nest industry in Malaysia: A case study in northern peninsular Malaysia. International Journal Supply Chain Management, 8(1), 724 - 733.

Ministry of International Trade and Industry. (2020). Annual Report 2020. Department of Standards Malaysia, Ministry of International Trade and Industry. Cyberjaya, Selangor Malaysia.

Performance Management and Delivery Unit. (2015). Malaysia Economic Transformation Programme (ETP) Annual Report 2014. from http://etp.pemandu.gov.my/annualreport2014 /upload/ETP2014_ENG_full_version.pdf

Pongpattananurak, N., S. Phumsathan, D. Ruksakul and J. Toyting. (2018). Guidelines for Implementing Protocols for Good Swiftlet House Practices. Faculty of Forestry, Kasetsart University, Bangkok.

Royal Thai Government Gazette. (2019). No.136, Article 71.

Thorburn, C. C. (2015). The Edible Nest Swiftlet Industry in Southeast Asia: Capitalism Meets Commensalism. Human Ecology, 43, 179–184.

Voisin, J., Q.Y. Vo and Q.P. Nguyen. (2005). The diet of the white–nest swiftlet (Aerodramus fusciphagus germani) in Viêtnam. Aves, 42(1–2), 3 – 21.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-13

How to Cite

ภูมิสถาน แ., ทัฬหิกรณ์ ส., มุมอ่อน อ., ก่อเกียรติสกุลชัย เ., สุดดี ว., รักษากุล ด., ศักดินันท์ จ., ดิศสนะ จ., พุ่มพวง ว., & พงศ์พัฒนานุรักษ์ น. (2021). บทวิเคราะห์อุตสาหกรรมรังนกจากบ้านนกในประเทศไทยและ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการส่งเสริมนกแอ่นกินรังเป็นสัตว์เศรษฐกิจ. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน, 17(2), 96–115. https://doi.org/10.14456/jem.2021.13

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ Viewpoint