จิตรกรรมภาพหุ่นนิ่งสะท้อนการปรับตัวของคนไทยในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19

Main Article Content

ลีลา พรหมวงศ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปของคนไทยเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดวิธีการเอาตัวรอดที่ประยุกต์มาจากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับผนวกกับภูมิปัญญาท้องถิ่นออกมาเป็นผลงานจิตรกรรมสีอะคริลิก การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่เกิดจากการรวบรวมข้อมูลจากหนังสือพิมพ์บทความ หนังสือ สื่อออนไลน์ และโทรทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย การลงพื้นที่เพื่อหาวัตถุดิบ หุ่นนิ่ง สิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโควิด-19 มาเป็นข้อมูลในการสร้างต้นแบบผลงานจิตรกรรม ผลการวิจัยพบว่า สิ่งของใกล้ตัวและความรู้จากหลายแหล่งถูกนำมาประยุกต์ให้เข้ากับวิถีชีวิตของคนไทยอย่างกลมกลืนด้วยสติปัญญาที่เกิดจากประสบการณ์ของแต่ละคน การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า คนไทยมีความฉลาดและไม่ยอมแพ้กับสิ่งใดโดยง่าย ซึ่งสมควรถ่ายทอดออกมาเป็นรูปแบบทางศิลปะ เนื่องจากมีผลกระทบต่อจิตใจ สามารถชวนให้ระลึก และเชื่อมโยงถึงช่วงเวลาที่ผู้คนเคยเผชิญได้

Article Details

How to Cite
[1]
พรหมวงศ์ ล. 2024. จิตรกรรมภาพหุ่นนิ่งสะท้อนการปรับตัวของคนไทยในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 12, 3 (ส.ค. 2024), 261–277.
บท
บทความวิจัย

References

Abhayo, P. T., K. Kamkhai, C. Hanngon and P. Wongkanha. 2022. COVID-19 and depression in the elderly . Journal of MCU Nakhondhat 9(9): 1-14.

(in Thai)

Chutintaro, K. 2022. Cycle of life and virus19 effect for worthy of human. Wishing Journal Review 2(1): 17-28. (in Thai)

Danpradit, P. and K. Jermtienchai. 2022. Relationship between health literacy and COVID-19 prevention behaviors of COVID-19 infected people during the pandemic in 2021 and the first trimester of 2022. Vajira Nursing Journal 24(2): 70-84. (in Thai)

Khumsaen, N., S. Peawnalaw, S. Sripituk and S. Narysangkharn. 2021. Factors influencing mental health status of residents in U-thong district, Suphanburi province during the Covid-19 pandemic. Journal of Health and Nursing Research 37(3): 36-50. (in Thai)

Noipha, K., W. Mard-e, P. Raweeya and P. Kerdsuk. 2022. Factors relating to herbs use behavior for COVID-19 prevention among people living in Mueang district, Krabi province. Journal of Traditional Thai Medical Research 8(2): 59-79. (in Thai)

Peetiya, W. and P. Thommachot. 2022. Factors associated with psychological impact on adolescents due to COVID-19 pandemic. Journal of the Psychiatric Association of Thailand 67(2): 147-167 (in Thai)

Pitayapreechanon, C. 2008. Art therapy in Thailand. Journal of The Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang 9(2): 14–29. (in Thai)

Ritruechai, O., S. Santiwes and N. Tongpong. 2017. Psychology of color : BBL classrooms. Journal of Education Khon Kaen University 40(1): 1-14. (in Thai)

Ruamsuk, K. and U. Larping. 2020. Is Thailand really free from Covid-19. Journal of Prajna Ashram 2(2): 61-69. (in Thai)

Sanmun, D. 2023. Natural products to reduce the severity of coronavirus 2019: A literature review. Health Science, Science and Technology Reviews 16(2): 3-15. (in Thai)

Wuttisin, N., K. Kakham and L. Suksua. 2021. Anxiety and depression during the outbreak of coronavirus disease 2019 (COVID-19) among the thais and their relaxation techniques. Journal of Community Development and Life Quality 9(3): 422-432.