ประเด็นความขัดแย้งและแนวทางแก้ไข กรณีศึกษา โครงการสำรวจและออกแบบ ทางต่างระดับ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุความขัดแย้งและการจัดการความขัดแย้งของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการสำรวจและออกแบบทางต่างระดับในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์
เชิงลึกและการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 33 คน จากการทบทวนเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง พบว่า สาเหตุความขัดแย้งเกิดขึ้นมาจากการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนในพื้นที่ยังไม่ครอบคลุมและหน่วยงานภาครัฐเข้าไม่ถึงผู้มีส่วนได้เสียที่แท้จริงทุกกลุ่ม มีข้อห่วงกังวลเรื่องมลพิษสิ่งแวดล้อม
ต่อสุขภาพของชุมชนท้องถิ่น การจราจรติดขัด และอุบัติเหตุในช่วงระยะก่อสร้างโครงการ แนวทางการจัดการความขัดแย้ง ได้แก่ การยอมรับด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง การรับฟังความคิดเห็นที่สร้างสรรค์
การมีตัวแทนจากภาคเอกชนที่เข้ามามีบทบาทในการเจรจาต่อรองในเรื่องการชดเชยการเวนคืนที่ดิน และทรัพย์สินต่าง ๆ แทนประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ โดยใช้การร่วมมือกันเพื่อหาทางออกจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจและแก้ไขบทความที่เสนอเพื่อตีพิมพ์ในวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะผู้จัดทำไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยและคณะผู้จัดทำ / บรรณาธิการ
References
Khonpian, A., S. Siriwoharn and J. Chulachakwat. 2015. Conflict between the state and the citizens, resolving about the state property which registration number S.CM.2257, Ban Pae subdistrict, Chomthong district, Chiang Mai Province. Journal of Graduate Research 6(1): 147-163. (in Thai)
Bendem-Ahlee, S. 2016. Power structure, policy and law obstructing Thailand forest management: A case study of Thung Bang Nok Ohk forest in the lower Songkhla Lake basin. Community Development and Quality of Life Journal 5(2): 387 – 402. (in Thai)
Chompunth, C. 2012. A review of the public participation concept in “Public Participation Handbook: Making better decisions through citizen involvement” in Thai context. Journal of environmental management 8(1): 123-141. (in Thai)
Department of Highways. 2021. Interchange survey and design project Intersection of Highway No. 420 and Highway 401 (Tha Kup Intersection) and Thetsaban Road Intersection (TapanIntersection). (Online). Available: http://www.xn--420-7doa1badb7lkepff1bncw0lza9a0c
fxg2akjeheb6uxj5ii.com/ (January 10, 2023) (in Thai)
Garagait, S. and B. Chaijaroenwatana. 2022. Conflict management on the state development project : A case study of the coastal protection darn, Muang Ngam subdistrict, Singhanakhon district, Songkhla province. PAAT Journal 4(8): 46-57. (in Thai)
Kaewjitkhongthong, P. 2021. Conflict management of Bangyai-Kanchanaburi the intercity motorway project. SSRU Journal of Public Administration 4(1): 13-28. (in Thai)
Kongkirati, P. 2019. From illiberal democracy to military authoritarianism: Intra-elite struggle and mass-based conflict in deeply polarized Thailand. The Annals of the American Academy of Political and Social Science 681(1): 24-40.
Mallikamarl, S. 2002. Constitution and Public Participation in Its Protection Natural Resources and the Environment, Chulalongkorn University Press, Bangkok. 271 p. (in Thai)
Morris, C. 2004. Managing conflict in health care settings: Principles, practices & policies.: Prepared for a workshop on Resoving Confiict and Apologies at King Prajadhipok’s Institute, Bangkok.
Singsri, A. and C. Chompunth, 2018. Conflicts from a maga industrial development projects : A case study Rayong Industrial Estate Park Project (Ban Khai). Social Sciences Journal 8(3): 113-127.(in Thai)
Vliert, D. E., A. Nauta, E. Giebels, O. Janssen. 1999. Constructive conflict at work. Journal of Organizational Behavior 20(4): 475-491.
Yenjaima, R. and S. Suyaporm, 2018. Conflict in socity: Theory and solution. Journal of MCU Social Science Review 7(2) : 224-238. (in Thai)