การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองตามสมรรถนะครู ของประเทศไทย ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดลำพูน

Main Article Content

พีรฉัตร อินทชัยศรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาสภาพและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองของครูสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดลำพูน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ปฎิบัติหน้าที่อยู่ในสถานศึกษา โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นขั้นตอน (Multi – Stage random sampling) จำนวน 128 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (gif.latex?\bar{X}) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการเรียงลำดับความสำคัญของข้อมูล (PNIModified) ผลงานวิจัยพบว่าผลการประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองของครูสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดลำพูน ระดับสมรรถนะที่เป็นอยู่โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{X} = 4.052, S.D. = 0.786) ส่วนสมรรถนะที่ควรจะเป็นโดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{X} = 4.572, S.D. = 0.569) ซึ่งเมื่อพิจารณาค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นมีค่าเท่ากับ 0.132 โดยสมรรถนะด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนมีความสำคัญของความต้องการจำเป็นสูงสุดเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นสมรรถนะด้านการวัดผลและการประเมินผล

Article Details

How to Cite
[1]
อินทชัยศรี พ. 2023. การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองตามสมรรถนะครู ของประเทศไทย ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดลำพูน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 11, 2 (พ.ค. 2023), 115–122.
บท
บทความวิจัย

References

Intachaisri, P. and M. Khamkong. 2021. An application of the survival analysis to the study of undergraduate students drop-outs in Chiang Mai University. Journal of Education Naresuan University 23(3): 217-228. (in Thai)

Kodsiri, C., U. Hanwong and W. Warotamawit. 2022. Professional Learning Communities in Primary School Under the Bureau of Special Education Administration, Chiang Mai Province. Journal of Community Development and Life Quality 10(2): 239-249. (in Thai)

Lamphun Provincial Education Office. 2021. Lamphun education information 2021. Policy and Plan Group, Lamphun Provincial Education Office, Lamphun. (in Thai)

Palee, P. and N. Kamol. 2020. A classroom action research for promoting statistical thinking of grade 7 students by using the five practices. Journal of Education Research 15(2): 105-117. (in Thai)

Phakakleeb, J. and S. Atthachakara. 2016. The classroom action research for developing to enhance Prathom Sueksa 5 students’ science process skill. Journal of Education Mahasara kham University 10(Special edition): 240-255. (in Thai)

Saengloetuthai, J. and C. Maneerat. 2019. Classroom action research for teaching development. Journal of Research and Curriculum Development 9(2): 1-11. (in Thai)

Sawat, R. and R. Buosonte. 2022. COMPETENCY–BASED EDUCATION: CBE. Journal of Liberal Art of Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi 4(1): 187-201. (in Thai)

Teachers Council of Thailand. 2019. Southeast Asia Teacher Competency Framework (C-TCF). ONPA Co., Ltd., Bangkok. 38 p. (in Thai)

Techapunratanakul, N., P. Buacharoen and P. Buochareon. 2019. Motivation in selected study in bachelor degree of students at Rajamangala University of Technology Lanna, Chiangmai. RMUTL Journal of Business Administration and Liberal Art 7(2): 59-71. (in Thai)

Vangmeejongmee, C. and O. Naiyapatana. 2017. Competency of Thai teacher in 21st century: Wind of change. Journal of HRintelligence 12(2): 47-63. (in Thai)