การประยุกต์ปุ๋ยหมักเพื่อเป็นอาหารเสริมต่อการเพาะเห็ดฟาง: การลดของเสียทางการเกษตรด้วยวิธีการหมักปุ๋ย และการเพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยการเพาะเห็ด

Main Article Content

นัทธีรา สรรมณี
ปรารถนา เผือกวิไล
กมลชนก พานิชการ
สิริประภัสสร์ ระย้าย้อย
ไพศาล เอื้อสินทรัพย์
กาญจนา สุราภา

บทคัดย่อ

ปุ๋ยหมักมูลวัวถูกนำมาเป็นอาหารเสริมเพื่อเพิ่มผลผลิตเห็ดฟาง พบว่ามีเพียงปุ๋ยหมักในวันที่ 35 และ 63                       ที่คุณสมบัติผ่านมาตรฐานกรมวิชาการเกษตร เมื่อนำไปทดสอบกับวัสดุปลูกที่แตกต่างกันสองชนิด คือ ฟางข้าว และก้อนเห็ดเก่า ปุ๋ยหมักช่วยเพิ่มน้ำหนักของเห็ดฟางมากกว่าชุดควบคุมเมื่อเพาะด้วยฟางข้าวอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) โดยไม่มีความแตกต่างของอายุปุ๋ยหมัก (P>0.05) ในขณะที่ก้อนเห็ดเก่าไม่มีความแตกต่างกันทุกชุดทดสอบ (P>0.05) อย่างไรก็ดีปุ๋ยหมักอายุ 63 วัน เมื่อเพาะด้วยก้อนเห็ดเก่ามีผลรวมของจำนวนดอกขนาดกลางและขนาดใหญ่มากที่สุดถึงร้อยละ 90.47 เป็นผลให้ปุ๋ยหมักวันที่ 63 ถูกเลือกเป็นอาหารเสริมสำหรับการเพาะเห็ดฟางร่วมกับวัสดุปลูกจากก้อนเห็ดเก่าดังกล่าว การดำเนินการนี้ในภาคสนามนั้น ได้ทำร่วมกับกลุ่มเกษตรกรที่ตำบลดอนพุทรา จังหวัดนครปฐม ไม่เพียงแต่ผลผลิตเห็ดฟาง ที่สามารถขาย และบริโภคได้ แต่ยังช่วยลดภาระการกำจัดก้อนเห็ดเก่าซึ่งเป็นการเพิ่มรายได้ของครัวเรือนทั้งโดยตรง และโดยอ้อม

Article Details

How to Cite
[1]
สรรมณี น., เผือกวิไล ป., พานิชการ ก., ระย้าย้อย ส., เอื้อสินทรัพย์ ไ. และ สุราภา ก. 2020. การประยุกต์ปุ๋ยหมักเพื่อเป็นอาหารเสริมต่อการเพาะเห็ดฟาง: การลดของเสียทางการเกษตรด้วยวิธีการหมักปุ๋ย และการเพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยการเพาะเห็ด. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 9, 1 (ก.ย. 2020), 158–169.
บท
บทความวิจัย

References

AOAC. 2000. AOAC Official Methods of Analysis. 17thed. AOAC International, Gaithersburg. MD.

Manassporn, P., T. Natsima and S. Weerasak. 2019. Accumulation of heavy metals in straw mushroom from difference substrate media. Khon Kaen Agriculture Journal. 47 (SUPPL.1) : 1711-1716. (in Thai)

Nootharee, T., T. Artit, C. Siwadon, P. Karun, C. Piphat, T. Janjira, W. Thanakorn and L. Suman. 2018. Effects of Vermicompost on quality of paddy straw mushroom (Volvariella Vovacea) by short stack. King Monkut's Agriculture Journal. 36(3): 81-90. (in Thai)

Ocharutip, R. 2014. Improvement of empty palm bunches for straw mushroom cultivation by adding compost: comparison using pig manure compost, cow manure and chicken manure. Department of Environmental Science, Faculty of Science, Silpakorn University, Nakhon Pathom. 39 p. (in Thai)

Ratchakorn, N., S. Suthep, V. Pisit and P. Tawach. 2015. Co-compost production from sewage sludge mixed with vegetable wastes and scum. Journal of Community Development and Life Quality. 3(1): 95-105.

Sanea, R. 2012. Production of straw mushroom. Irrigated Agriculture Newsletter. 16(63): 27-36. (in Thai)

Sellami, F., S. Hachicha, M. Chtourou, K. Medhioub and E. Ammar. 2008. Maturity assessment of composted olive mill wastes using UV spectra and humification parameters. Bioresource Technology. 99(15): 6900-6907

Sparks, D.L., A.L. Page, P.A. Helmke, R.H. Loeppert, P.N. Soltanpour, M.A. Tabatabai, C.T. Johnston and M.E. Sumner. 1996. Methods of Soil Analysis. Part 3: Chemical Methods. Soil Science Society of America Book Series, No. 5, Soil Science Society of America, Madison. 1390 p.

Supapron, S. and K, Prinya. 2015. The used of bamboo residues from chopstick production for mushroom cultivation material. In: RMUTP Research Journal (Special Issue): 20-26 (in Thai)

Sutthichai, S. 2010. Effect of cultivation substrate and supplemented materials treated with some microorganism and bioextracts on production yield of straw mushroom (Volvariella volvacea (Bull. ex Fr.) Sing.) grown in plastic basket. Thai Science and Technology Journal. 18(2): 17-36. (in Thai)