การศึกษาความรู้และพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชมรมผู้สูงอายุ เทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี

Main Article Content

เอมอร ชัยประทีป

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ เทศบาลนครรังสิต จำนวน 60 คน ผลการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุมีความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมโดยมีคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบอยู่ที่ 9 จาก 10 คะแนนเต็ม กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมที่เหมาะสมโดยส่วนใหญ่ทำอาหารรับประทานเอง มื้อเช้าเป็นมื้อหลักในการบริโภค ชอบอาหารรสจืด รับประทานผักผลไม้ทุกวัน และมีจำนวนมากกว่าครึ่งของผู้สูงอายุที่ไม่บริโภคอาหารในกลุ่มที่เป็นปัจจัย ในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อไปนี้ คือ ขนมกรุบกรอบ อาหารจานด่วนอาหารแช่แข็ง และแอลกอฮอล์ แต่มีความเสี่ยงที่มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์ การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุซึ่งได้รับการอบรมด้านการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จะมีความรู้ความเข้าใจในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพต่าง ๆ ดังนั้น ครอบครัว และหน่วยงานราชการท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดผู้สูงอายุมากที่สุดควรเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

Article Details

How to Cite
[1]
ชัยประทีป เ. 2018. การศึกษาความรู้และพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชมรมผู้สูงอายุ เทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5, 1 (มิ.ย. 2018), 77–88.
บท
บทความวิจัย

References

จักรกฤษณ์ พิญญาพงษ์. 2555. ระเบียบวิธีวิจัยทางสาธารณสุข. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์. อุตรดิตถ์. 288 หน้า.

ณิชารีย์ ใจคำวัง. 2558. พฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง: กรณีศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคะยางจังหวัดสุโขทัย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(2): 173-184.

เทศบาลนครรังสิต. 2557. สถิติจำนวนประชากรในเขตเทศบาลนครรังสิต จำแนกตามช่วงอายุ. 2557. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www.rangsit.org/New/index.php/th/2014-11-26-03-57-42/105-2014-11-07-07-57-30?start=8 (3 มีนาคม 2559)

เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ดวงกมล วัตราย์ และ กนกพร แจ่มสมบูรณ์. 2558. การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ. สุขุมวิทการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 383 หน้า.

ศันสนีย์ กระจ่างโฉม และสุวิภา จำปาวัลย์. 2557. การบริโภคอาหารที่ทำให้มีอายุยืนยาวของผู้สูงอายุ กลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน ในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 2(2): 161-170.

วิไลวรรณ ทองเจริญ จันทนา รณฤทธิวิชัย สมจินต์ เพชรพันธุ์ศรี ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ และวรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย. 2554. ประสิทธิผลของกระบวนการจัดการความรู้ต่อความรู้และการจัดการปัญหาความดันโลหิตสูงของผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลศาสตร์ 29(2): 103-113.

สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์. 2557. การทบทวนวรรณกรรม: สถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการบริการด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ครั้งที่ 1). อาร์ต ควอลิไฟท์, นนทบุรี. 66 หน้า.

สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ.2549. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ. ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 59 หน้า.

สมใจ จางวาง เทพกร พิทยภินัน และนิรชร ชูติพัฒนะ. 2559. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลการสาธารณสุขภาคใต้ 3(1): 111-128.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. 2552. การสำรวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2552 (พฤติกรรมการบริโภคอาหาร). (ระบบออนไลน์).แหล่งข้อมูล:http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/healthCare_52.pdf (29 มีนาคม 2559).

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. 2558. นโยบายด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2558. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://203.157.161.4/koratbox/%CB%B9%D1%A7%CA%D7%CD%E1%BC%B958/%E1%BC%B9%C2%D8%B7%B8%C8%D2%CA%B5%C3%EC%CA%D8%A2%C0%D2%BE%20%BB%D5%202558(%E1%A1%E9%E4%A25%BE%C257).pdf (1 มีนาคม 2559).

สุกิจ แย้มวงษ์. 2549. การพัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. เครือข่ายวิจัยสุขภาพ มูลนิธิสาธารณสุข, กรุงเทพฯ. 18 หน้า.

อรวรรยา ภูมิศรีแก้ว. 2553. ปัจจัยเสี่ยง และการรับรู้ปัจจัยเสี่ยง ของโรคหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นคราราชสีมา 16(2): 34-47.

Cronbach, L. J. 1970. Essentials of Psychological Testing. 4th ed. Harper and Row Publishers, New York. 342 p.

Escott-Stump, S. 1988. Nutrition and Diagnosis-Related Care. 8th ed. Wolters Kluwer, Philadelphia. 1064 p.

WHO. 2008. Waist circumference and waist-hip ratio report(Online). Available: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/44583/1/9789241501491_eng.pdf (January 16, 2016)

WHO. 2012. Sodium intake for adults and children. 2012. (Online). Available: http://www.who.int/nutrition/publications/guidelines/sodium_intake/eng.pdf (August 28, 2016).

WHO. 2014. Global status report on non-communicable diseases. 2014. (Online). Available: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/148114/1/9789241564854_eng.pdf (January 1, 2016).