“พลายศักดิ์สุรินทร์” วาทกรรมทางการเมืองทูตสันถวไมตรี ไทย-ศรีลังกา

ผู้แต่ง

  • อัญชลี แสงเพชร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • พระพิทักษ์ แฝงโกฎิ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา

คำสำคัญ:

พลายศักดิ์สุรินทร์, วาทกรรมทางการเมือง, ทูตสันถวไมตรี, ไทย-ศรีลังกา

บทคัดย่อ

ìพลายศักดิ์สุรินทร์î ช้างไทยถูกส่งออกนอกราชอาณาจักรในปี 2544 เพื่อเป็นช้างแห่พระเขี้ยวแก้ว อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในงานแห่พระธาตุประจำปี จึงอยู่ในฐานะสัตว์ทูตสันถวไมตรีเชื่อมสัมพันธ์ทวิภาคีไทย-ศรีลังกา ควรได้รับการปฏิบัติที่ดีจากประเทศคู่สัญญาอย่างสมเกียรติ ต้องเกิดจากการทำข้อตกลงระหว่างประเทศที่เท่าเทียมทั้งสองฝ่าย โดยรวมถึงสวัสดิภาพของสัตว์ในต่างแดน กรณีพลายศักดิ์สุรินทร์ กลับไม่ปรากฎการทำข้อตกลงส่งมอบสัตว์ทูตอย่างรัดกุมจากฝ่ายรัฐบาลไทย ส่งผลให้ 21 ปีต่อมา เกิดวาทกรรมทางการเมืองเรื่องช้างในประเด็นการทารุณกรรมสัตว์ ลุกลามใหญ่โตเป็นปมขัดแย้งโดยเฉพาะในศรีลังกา อาทิ กลุ่มต่อต้านการใช้แรงงานสัตว์ วัดถือกรรมสิทธิ์ครอบครองพลายศักดิ์สุรินทร์ เป็นต้น เกิดกระแสสงสารช้างไทยอย่างรวดเร็ว รัฐบาลไทยจึงต้องดำเนินการให้ความช่วยเหลือ เพราะ 1) ช้าง หมายถึง เกียรติยศศักดิ์ศรีของชาติ ทั้งยังผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยมาช้านานเสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน 2) เพื่อแก้ไขความผิดพลาดการทำข้อตกลงส่งมอบสัตว์ทูตในอดีตที่ไม่ละเอียดและรัดกุมมากพอ ส่งผลให้เกิดทุกขเวทนาต่อช้างซึ่งเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมือง และนำไปสู่การยกเลิกนโยบายส่งมอบ ìช้างî เป็นสัตว์ทูตอย่างเป็นรูปธรรมในปี 2559 รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับช้างให้ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป

References

ศรีลังกา : ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2567. จาก https://www.mfa.go.th/th/content/5d5bcc1b15e39c3060009fc7? cate=5d5bcb4e15e39c3060006870

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (4 กรกฎาคม 2566). ในหลวงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับพลายศักดิ์สุรินทร์ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://www.mnre.go.th/th/news/detail/159154

กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ. (28 พฤศจิกายน 2565). ข้อมูลทั่วไปความร่วมมือเพื่อการพัฒนาศรีลังกา : กระทรวงการต่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2567. จาก https://tica-thaigov.mfa.go.th/th/content/116958-sri-lanka?cate=5f45ed31d2798552841a9313

กรมประชาสัมพันธ์. (31 พฤษภาคม 2566). ไทยและศรีลังกา ย้ำความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด บนพื้นฐานร่วมทางศาสนาและวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2567. จาก https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/39/iid/186111

กองการต่างประเทศ. (4 ตุลาคม 2556). ข้อมูลความสัมพันธ์ทวิภาคีทวัปเอเชีย : กระทรวงวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2567. จาก https://www2.m-culture.go.th/international/ewt_news.php?nid=111&filename=index

ข่าวสด. (6 กรกฎาคม 2566). ศรีลังกา ขู่ฟ้องเรียกค่าเสียหาย หากมารับ “พลายประตูผา-พลายศรีณรงค์” กลับไทย. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2567. จาก https://today.line.me/th/v2/article/wJzxagl

ทศพล ชัยสัมฤทธิ์ผล. (3 กรกฎาคม 2566). พระศรีลังกาต้องการให้ไทยต้องส่งคืน “พลายศักดิ์สุรินทร์” หากรักษาเสร็จ. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2567. จาก https://www.bbc.com/thai/articles/c4n42r2rklgo

ไทยพีบีเอส. (29 มิถุนายน 2566). “พลายศักดิ์สุรินทร์” ภารกิจข้ามแดน “แห่พระเขี้ยวแก้ว”. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2567. จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/329229

ปาริชาติ โชคเกิด. (15 สิงหาคม 2565). ตระกูลเดียว ล่มสลายทั้งประเทศ : ถอดบทเรียน “ราชปักษา” บริหารประเทศอย่างไรให้ล้มเหลวได้ขนาดนี้. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2567. จากhttps://brandinside.asia/the-reason-why-sri-lanka-fail-under-rajapaksa-dynasty/

ราชกิจจานุเษกษา. (2562). ระเบียบกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการอนุญาตให้ส่งช้างออกไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. 2562 เล่ม 136 ตอนพิเศษ 100. ลงวันที่ 23 เมษายน 2562.

ปิ่น บุตรี. (1 กรกฎาคม 2566). ย้อนรอย “พลายศักดิ์สุรินทร์” ช้างประวัติศาสตร์โลก กว่า 20 ปี จากศรีลังกากลับคืนสู่บ้านเกิดเมืองไทย. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. จากhttps://mgronline.com/travel/detail/9660000059720

ผู้จัดการออนไลน์. (3 กรกฎาคม 2566). “หนูนา” สยบดรามา “พลายศักดิ์สุรินทร์” กลับบ้าน แจงบริจาคสีทอง 2.8 ตัน ทาองค์พระไม่ใช่ทอง. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://mgronline.com/politics/detail /9660000060201

ผู้จัดการออนไลน์. (12 กรกฎาคม 2566). อีกมุมช้างทูตชีวิตทรมาน วอนอย่าปล่อย “พลายศักดิ์สุรินทร์” กลับไป. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://mgronline.com/live/detail/9660000063226

พีพีทีวี. (3 กรกฎาคม 2566). อัพเดท! สัตวแพทย์เผย 3 อาการป่วย “พลายศักดิ์สุรินทร์”. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/200167

พีพีทีวี. (27 ธันวาคม 2566). ข่าวดังข้ามปี 2566 : ภารกิจประวัติศาสตร์ “พลายศักดิ์สุรินทร์” กลับแผ่นดินเกิด. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/213348

สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคลัมโบ. (30 พฤศจิกายน 2565). ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม : ความร่วมมือด้านวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://colombo.thaiembassy.org/th/page/27691-factsheet-(%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2)?menu=5d7d051f15e39c0cf80062b8

อับดุลไทยทูบ. (20 ตุลาคม 2564). Soft Power กับ 4 เรื่องราวการทูต ที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. จาก https://www.youtube.com/watch?v=lq9x7K7ePZc&t=4s

อาร์วายที9. (3 กุมภาพันธ์ 2563). ไทย-ศรีลังกา พร้อมกระชับความร่วมมือระหว่างกันทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567. จาก https://www.ryt9.com/s/govh/3091383

SRI LANKA’s News Source. (July 11 2023). Muthu Raja: Thai elephant’s recovery promising despite tumour diagnosis. Retrieved January 6, 2024 from https://www.adaderana.lk/news/91890/muthu-raja-thai-elephants-recovery-promising-despite-tumour-diagnosis

The Sunday Times. (July 9 2023). If peraheras must have elephants, more the reason see they’re well. Retrieved January 6, 2024 from https://www.sundaytimes.lk/230709/columns/if-pereheras-must-have-elephants-more-the-reason-to-see-theyre-well-524856.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30