สรรพคุณโพธิพฤกษ์ของพระพุทธเจ้า 5 พระองค์

ผู้แต่ง

  • อารุณ สิทธิวงศ์ วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เสพบัณฑิต โหน่งบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

โพธิพฤกษ์, พระพุทธเจ้า

บทคัดย่อ

โพธิพฤกษ์ หรือ ต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัทรกัปนี้ มีอยู่ 5 ชนิด ได้แก่ ต้นซึก ต้นมะเดื่อ ต้นไทร ต้นอัสสัตถะพฤกษ์หรือต้นโพธิ์ และต้นนาคะหรือต้นกากะทิง ต้นโพธิพฤกษ์ นอกจากเป็นต้นไม้ที่เหล่าพระพุทธเจ้าประทับนั่งตรัสรู้ใต้โคนแล้ว โดยธรรมชาติของต้นโพธิพฤกษ์นี้ ยังมีคุณประโยชน์หลายด้าน องค์ประกอบของต้นไม้ ใบและผลสามารถนำมาเป็นอาหารได้ ลำต้น เป็นยารักษาโรคและสามารถนำมาสร้างเรือนสำหรับอยู่อาศัยได้ นอกจากนี้ เปลือก ใบ ราก ผลและยาง สามารถนำมาปรุงเป็นยารักษาโรคภัยที่เกิดกับสัตว์มนุษย์ได้อย่างดี สะท้อนให้เห็นตามจริงว่า ต้นโพธิพฤกษ์นี้ มีคุณอนันต์ในการยังชีพของสัตว์โลกได้เป็นอย่างดีทั้งทางกายและทางใจ

References

กฤช เหลือลมัย. (2563). ผักยืนต้น กินผักอายุยืน โลกอายุยาว. จัดพิมพ์โดย : มูลนิธิชีววิถี.

จุไรรัตน์ เกิดดอนแฝก. (2548). สมุนไพรบำบัดเบาหวาน 150 ชนิด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ เซเว่น พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.

ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์ และนิดดา หงส์วิวัฒน์. (2566). ผลไม้ 111 ชนิด คุณค่าอาหารและการกิน. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.organicfacts.net

นิจศิริ เรืองรังษี, และ ธวัชชัย มังคละคุปต์. (2547). หนังสือสมุนไพรไทย เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร : บ.ฐานการพิมพ์.

พญ.เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ, นิจศิริ เรืองรังสี, และอาจารย์กัญจนา ดีวิเศษ. (2549). หนังสือสมุนไพรในอุทยานแห่งชาติ ภาคกลาง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : ศูนย์พัฒนาตำราการแพทย์แผนไทย มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

พระรัตนปัญญาเถระ รจนา แสง มนวิทูร เปรียญ แปล. (2550). ชินกาลมาลีปกรณ์. จัดพิมพ์เป็นธรรมทานเนื่องในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินยกช่อฟ้าเอกพระอุโบสถและทรงประกอบพิธีเป็นป้ายพิพิธภัณฑ์ฯ ณ วัดพระแก้ว. กรุงเทพมหานคร: รำไทย เพรส จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยมหิดล. (2566). ไขปริศนาพฤกษาพรรณ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ไทรย้อยใบแหลม. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.il.mahidol.ac.th/e-media/plants/ ไทรย้อยใบแหลม.

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (2566). ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ ไทรย้อย. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.thaicrudedrug.com/ไทรย้อย

มูลนิธิหมอชาวบ้าน. (2566). ข้อมูลสมุนไพรใกล้ตัว. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.facebook.com/folkdoctorthailand.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชันย์ ภู่มา และสมราน สุดดี. (2557). ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

วรรณา กัลยาณะวงศ์ ณ อยุธยา. (2566). ไทรย้อยใบแหลม พันธุ์ไม้พระราชทาน เพื่อปลูกเป็นมงคล. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.dnp.go.th/botany

วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2546). พจนานุกรมสมุนไพรไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: รวมสาส์น.

วิทยา บุญวรพัฒน์. (2554). สารานุกรมสมุนไพรไทย-จีน ที่ใช้บ่อยในประเทศไทย. “กระทิง”. กรุงเทพมหานคร: สมาคมศาสตร์การแพทย์แผนจีนในประเทศไทย.

สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2566). ไม้พุทธประวัติ, “โพธิ”. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.rspg.or.th

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23