การประยุกต์ใช้ธรรมะกับการเมืองเพื่อความสุขของประชาชนบนวิถีแห่งธรรมาธิปไตย

ผู้แต่ง

  • พระมหาอำคา วรปัญโญ (สุขแดง) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ยุภาพร ยุภาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ธรรมะ, การเมือง, ความสุขของประชาชน, ธรรมาธิปไตย

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมะกับการเมืองเพื่อความสุขของประชาชนบนวิถีแห่งธรรมาธิปไตย 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาชีวิตด้วยธรรมะเพื่อความสุขของประชาชนบนวิถีแห่งธรรมาธิปไตย ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 2.1) การพัฒนาร่างกาย 2.2) การพัฒนาศีลธรรม                  2.3) การพัฒนาจิตใจ และ 2.4) การพัฒนาปัญญา 3) ประยุกต์ใช้แนวคิดเกี่ยวกับธรรมะเพื่อความสุขของประชาชนภายใต้ธรรมาธิปไตย ประกอบด้วยธรรมะ 10 ประการ ได้แก่ 1. ทานัง (การให้ทานหรือแบ่งปัน) 2. สีลัง (การรักษาศีล) 3. ปะริจาคัง (การบริจาคหรือเสียสละ) 4. อาชชะวัง (ความซื่อตรง) 5. มัททะวัง (ความอ่อนโยน) 6. ตะปัง (ความเพียรเผาผลาญกิเลส) 7. อักโกธัง (ความไม่โกรธ) 8. อะวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน)                9. ขันติ (ความอดทน) และ 10. อะวิโรธะนัง (ความไม่มีอะไรพิรุธ) นอกจากนี้ ยังรวมถึงหน้าที่ตามกฎหมาย กติกาสังคม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม เข้ามาใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการดำเนินชีวิต และปฏิบัติหน้าที่โดยธรรม ของนักการเมืองที่ต้องใช้อำนาจและดุลยพินิจเพื่อบริหารรัฐกิจและจัดระเบียบสังคม ให้ถูกต้องตามกฎหมายและกฎเกณฑ์แห่งศีลธรรม เพื่อให้บรรลุประโยชน์สูงสุดต่อส่วนรวม สามารถควบคุมตนเองได้ และการมีความเผื่อแผ่ด้วยจิตเมตตา ประชาชนทุกหน่วยของสังคม อยู่ดี กินดี มีความสุข สงบ สันติ ปรองดอง เกิดความเชื่อมั่นศรัทธา ส่งผลให้บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

References

กรมการศาสนา. (2537). พุทธศาสนสุภาษิต. (เล่ม 1). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.

คณาจารย์โปรแกรมจิตวิทยา. (2549). โปรแกรมจิตวิทยาและการแนะแนว และการพัฒนาความสามารถของบุคคลและกลุ่ม โดยคณาจารย์โปรแกรมจิตวิทยาและการแนะแนว. สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

คำนวล คำมณี. (2547). ปรัชญาการเมือง. (คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์. (2562). หลักธรรมกับการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง. วารสารธรรมวิชญ์. 2(2), 312-317.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2553). ทศพิธราชธรรม : ธรรมเนียมปฏิบัติทางรัฐธรรมนูญ ในยุคประชาธิปไตยโลกา ภิวัตน์ กระบวนการปรองดองเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง. สลค. สาร. 18 (5), 1-28.

บุญทัน ดอกไธสง. (2562). การจัดการเชิงพุทธ 5 G. พระนครศรีอยุธยา : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ประเวศ วะสี. (2557). พุทธธรรมกับสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพมหานคร : หมอชาวบ้านจำกัด.

พระประยุทธ อริยวังโส และเกียรติศักดิ์ สุขเหลือง. (2561). การจัดการภาครัฐ : การเสื่อมศีลธรรมของคนในสังคมไทย. วารสารสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 7(2), 77-89.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2550). นิติศาสตร์แนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพมหานคร : บริษัท พิมพ์สวยจำกัด.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2556). การศึกษาทั่วไป เพื่อพัฒนามนุษย์ หนังสืออ่านประกอบ วิชาศึกษาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พระมหาอำคา วรปัญโญ และคณะ. (2563). การประยุกต์ใช้อรรถประโยชน์ทางการเมืองเพื่อความสุขของประชาชนภายใต้ฐานจริยศาสตร์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 9 (3), 274-288.

พุทธทาส ภิกขุ. (2530). (2547). ธรรมะกับการเมือง (ฉบับที่ระลึกครบ 100 ปีพุทธทาสภิกขุ). (พิมพ์ครั้งที่ 2)กรุงเทพมหานคร : ธรรมทานมูลนิธิ.

พุทธทาส ภิกขุ. (2530). (2548). ธัมมิกสังคมนิยม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

พุทธทาส ภิกขุ. (2530) . ทศพิธราชธรรม : ธรรมบรรยายชุดทศพิธราชธรรม การตามรอยพระยุคลบาทโดยทศพิธราชธรรม. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

พูลทรัพย์ ปิยะอนันต์. (2555). ธรรมะทั้งแผ่นดิน. สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน. 5 (2), 84-92.

ไพบูลย์ สุขเจตนี. (2562). การเมืองการปกครองตามแนวพุทธ. วารสารวิจยวิชาการ. 2 (2), 163-176.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2554). พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน. (พิมพ์ครั้งที่ 18). นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

สนธยา พลศรี. (2556). การพัฒนาความความสามารถของบุคคลและกลุ่ม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2561). การพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563 แหล่งที่มา https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/26-SustainableDevelopment.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก). กรุงเทพมหานคร : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). เผยผลสำรวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรม และสุขภาพจิต ปี 2561. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563 แหล่งที่มา http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2561/N21-09-61-1.aspx

สุชีพ ปุญญานุภาพ (เขียน) และ พระมหาบุญไทย ปุญญมโน. (รวบรวม). (2553). คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา “ธรรมาธิปไตย”. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563 แหล่งที่มาhttp://www.cybervanaram.net/index.php/2009-12-17-14-43-37-13/343-2010-11-23-14-21-44.

สุภาพ ปริญญเสวี และคณะ. (2533). รัฐศาสตร์ว่าด้วยพื้นฐานการปกครอง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ประสานมิตร.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-24