ศักยภาพของผู้ประกอบการที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ จังหวัดจันทบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของผู้ประกอบการ ความสามารถในการแข่งขันของของธุรกิจ และเพื่อศึกษาศักยภาพของผู้ประกอบการที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ จังหวัดจันทบุรี โดยประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ประกอบการอัญมณีและเครื่องประดับจังหวัดจันทบุรีที่จดทะเบียนกับพาณิชย์จังหวัดจันทบุรี จำนวน 212 คน โดยมีวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม นำข้อมูลมาวิเคราะห์ในประเด็นต่าง ๆ
ผลการวิจัยพบว่า
ผู้ประกอบการธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี และมีรายได้เฉลี่ยนต่อเดือนระหว่าง 30,001-50,000 บาท มีระดับศักยภาพของผู้ประกอบการโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะศักยภาพแห่งความสำเร็จ และระดับความสามารถในการแข่งขันโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ตัวแปรศักยภาพผู้ประกอบการ อัญมณีและเครื่องประดับในจังหวัดจันทบุรีที่ส่งต่อความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจมี 3 ปัจจัย คือ ศักยภาพแห่งอำนาจ ศักยภาพแห่งการวางแผน และศักยภาพแห่งความสำเร็จ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
กฤตติยา สัตย์พานิช, ทัศนัย ขัตติยวงษ์ และธีรวุฒิ สุทธิประภา. (2563). การศึกษาศักยภาพของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตการค้าชายแดนภาคตะวันออกเพื่อเพิ่มความสามารถการแข่งขัน. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 14(3), 128-135.
ชุลีวรรณ โชติวงษ์ และจุฑารัตน์ ปิณฑะแพทย์. (2563). การพัฒนารูปแบบศักยภาพของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมพลอยในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 30(4), 707-716.
ติ๋ม มณีคำ. (2560, 21 ธันวาคม). ศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการบริหารจัดการธุรกิจ กรณีศึกษา : กิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในแขวงบอลิคาไชย สาธารณรัฐ.https://so03.tci-thaijo.org/index.php/ jms_ubu/article/view/85796/68239.
นิตยา สุภาภรณ์. (2564). ความสามรถและความได้เปรียบทางการแข่งขันชองผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในจังหวัดนนทบุรี, วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(2), 43-52.
ปรียานันท์ โพธิ์ศิรวัฒน์ พิชา วิสิทธิ์พานิช และ ภัทราพร ตึกขาว. (2565). แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครสวรรค์. วารสารรามคำแหง, 5(3), 75-91.
พีรพงษ์ กนกเลิศวงศ์ และวรเดช จันทรศร. (2560). การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทริน์เอเซีย, 7(3), 331-340.
รสดา เวษฎาพันธุ์. (2563). การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันและแนวทางการพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58 (183-193 น.). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วสุธิดา นักเกษม และประสพชัย พสุนนท์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจบริการในเขตกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 11(1), 2148-2167.
สมทบ แก้วเชื้อ และสมศักดิ์ คล้ายสังข์. (2562). ความสำเร็จของการขายสินค้าออนไลน์ประเภทเครื่องสำอางของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 4(2), 26-33.
อัครเดช ฐิศุภกร, สยมภู หาญภักดีสกุล และศิรประภา เจริญวงศ์ ฆ้องเลิศ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อผู้ประกอบการในการตัดสินใจซื้ออัญมณี ตลาดพลอยจันทบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 8 (670-667 น.). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.
Barney, J. (1991). Firm resources and sustained competitive advantage, Journal of Management, 17(1), 99-120.
Cunningham, J. B. and Lischeron, J. (1991). Defining entrepreneurship. Journal of Small Business Management. 29, 45-61.
Dess, G. G., Lumpkin, G. T., and Taylor, M. L. (2005). Strategic management: Creating competitive advantage. McGraw-Hill.
Delmar, F. (1996). Entrepreneurial behavior and business performance. Dissertation for the Doctor's Degree in Philosophy. Stockholm School of Economics.
Frese, M. (2000). Success and failure of Mechlien Owners in Africa. Greenwood.
Hisrich, M. P. (2002). Entrepreneurship (5 th ed.). Mc Graw-Hill
Hodgetts, R. M. and Kuratko, D. F. (2001). Effective small business management (2 nd ed.). Harcourt Brace Jovanovich Inc.
Kabatire, I. S., Mutyaba, S. V. and Mcbay, B. W. (2007). Entrepreneurship skills. Netsoft.
Lambing, A. and Kuehl, C. R. (2003). Entrepreneurship (3 rd Ed.). Pearson Education Inc.
Lechner, C., and Gudmundsson, S. V. (2014). Entrepreneurial orientation, firm strategy and small firm performance. International Small Business Journal, 32(1), 36-60.
Lohaus, D. and Kleinmann, M. (2002). Analysis of Performance Potential. Wiley.
Maiese, M. (2011). Embodiment, emotion, and cognition. Palgrave Macmillan.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. McGraw-Hill.
Porter, M. E. (1980). Competitive strategy: techniques for analyzing industries and competitor. Free Press.
Rotter, J. B. (1996). Generalized expectancies for internal versus external control of reinforcement. Psychological Monographs: General and Applied, 80, 1-28.
Ryan, M. K. and Haslam, S. A. (2005). The Glass Cliff: Evidence that Women are Over-Represented in Precarious Leadership Positions. British Journal of Management, 16(2), 81–90.
Yamane, T. (1973). Statistics : An introductory analysis (2rd ed). Harper and Row.