การดัดแปลงตัวละครจากวรรณคดีไทยเพื่อสร้างสรรค์บทละครสะท้อนปัญหาสังคม เรื่อง Night at the library the ชะเอิงเงย

Main Article Content

กษาปณ์ ปัทมสูต
พิมพ์ภิรดา ปัทมสูต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการดัดแปลงตัวละครจากวรรณคดีไทย เพื่อสร้างสรรค์บทละครสะท้อนปัญหาสังคมเรื่อง Night at the library the ชะเอิงเงยซึ่งผู้วิจัย ได้ทำการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ที่ใช้การสังเคราะห์ตีความสร้างเป็นองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นเป็นความรู้ที่ประกอบด้วยผลงานการแสดงที่สร้างความหมายใหม่กับวงการศิลปะ โดยผู้วิจัยเป็นผู้เขียนบทละครร่วมสมัย เพื่อ ค้นหา วิธีการ ดัดแปลงบทละคร จากตัวละครในวรรณคดีไทย มาสะท้อนปัญหาสังคมปัจจุบัน งานวิจัยนี้ มีขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูลและการเขียนบท จนไปถึง การจัดแสดงจริง โดยมี การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ 


ผลการวิจัยพบว่า                                    


การดัดแปลงตัวละครจากวรรณคดีไทย เพื่อสร้างสรรค์บทละครสะท้อนปัญหาสังคม สามารถใช้ การดัดแปลง ตัวละครจากวรรณคดีไทย ที่มีปัญหา เทียบเคียงกับ ตัวละครในสังคมปัจจุบันได้ เป็นอย่างดี แต่ผู้เขียนบท จำเป็นที่จะต้องศึกษา แก่นแท้ ของวรรณคดีในแต่ละเรื่องให้เป็นอย่างดี แล้วจึงขยายความตัวละครนั้น ขึ้นมาสร้างเป็นบทละครเรื่องใหม่ต่อไป

Article Details

How to Cite
ปัทมสูต ก., & ปัทมสูต พ. (2024). การดัดแปลงตัวละครจากวรรณคดีไทยเพื่อสร้างสรรค์บทละครสะท้อนปัญหาสังคม เรื่อง Night at the library the ชะเอิงเงย. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 7(2), 197–205. https://doi.org/10.14456/issc.2024.36
บท
บทความวิจัย

References

กิตติพงษ์ วงศ์ทิพย์. (2558). การดัดแปลงเนื้อหาและตัวละครของวรรณคดีฉบับการ์ตูน: ผลกระทบต่อคุณค่าด้านความงามของวรรณคดีแบบฉบับและบทบาทของครูผู้สอนวรรณคดี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(13), 23-45.

พรรัตน์ ดำรุง. (2564). วิจัยการแสดง:สร้างความรู้ใหม่ด้วยการทำละคร. สำนักพิมพ์ภาพพิมพ์

มนตรี มีเนียม. (2546, 2 กรกฎาคม). วิเคราะห์บทละครสมัยใหม่ที่ดัดแปลงจากวรรณคดีไทย. http://biography.oas.psu.ac.th/biography_management

ยุทธนา บุญอาชาทอง. (2559). กระบวนการสร้างบทละครเวทีไทยสมัยใหม่.รายงานวิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

วินนิวส์. (2560, 2 กรกฎาคม). ปัญหาครอบครัวและวิธีแก้ปัญหา.https://www.winnews.tv/news/14618#

วชิรญาณ. (2565, 2 กรกฎาคม). บทละครเสภาขุนช้าง-ขุนแผน. https://vajirayana.org

วัชรญาณ. (2565, 2 กรกฎาคม). บทละครนอกเรื่องสังข์ทอง. https://vajirayana.org/.

ศิวาวุธ ไพรีพินาศ. (2557). กระบวนบทอิงประวัติศาสตร์ในสื่อจินตคดีสมัยใหม่. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สุพัชริณทร์ นาคทองคำ. (2564, 2 กรกฎาคม). ภาพแทนสตรีไทยในนวนิยายอีโรติกของนักเขียนชายไทย.

https://cmudc.library.cmu.ac.th/frontend/Info/item/dc:119548

ONG SHIN ROW และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). การดัดแปลงตัวละครในวรรณคดีเรื่องอิเหนาผู้ชายที่เป็นตุ๊ดแล้วเป็นทอมต่ออีกทีที่มาจากวรรณกรรมเรื่องอิเหนา ฉบับหิกะยัต ปันหยี สะมิหรัง. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และ นานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 407-417). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.