การประเมินเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation: DE) ช่วงต้นน้ำ เพื่อพัฒนาเป้าหมายโรงเรียน

Main Article Content

เยาวนารถ พันธุ์เพ็ง

บทคัดย่อ

         การประเมินเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation: DE) ช่วงต้นน้ำ เพื่อพัฒนาเป้าหมายของโรงเรียน  เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ  มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการทำงานตามวิสัยทัศน์ เป้าหมายหมายของโรงเรียน (School Goal) ในโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา 1 ปี ผลการวิจัยพบว่า การประเมินเชิงพัฒนาในแต่โรงเรียนมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียน ครู ผู้อำนวยการ ผู้ปกครองและชุมชน  และเขตพื้นที่การศึกษา  ทุกกลุ่มให้ร่วมวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นใน 


6 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย  ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ความซับซ้อน ขั้นที่ 3 การกำหนดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ขั้นที่ 4 การดำเนินกิจกรรม  ขั้นที่ 5 การนำข้อมูลหรือเครื่องมือประเมิน และขั้นที่ 6 การสะท้อนกลับ 


เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานของโรงเรียนต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลรัตน์ แสนใจงาม จุไรรัตน์ จุลจักรวัฒน์ และ ประวัติ พื้นผาสุข. (2557). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 2(5), 81-92.

กวีภัทร ฉาวชาวนา และปกรณ์ ประจันบาน. (2559). การพัฒนาตัวชี้วัดทักษะการจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่

ของครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(4), 197-209.

ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์. (2565). Formative and Summative Assessments.

https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1077

ยุวดี เปรมวิชัย. (2550). การประเมิน (Assessment). วารสารโรงเรียนนายเรือ, 7(1), 31-40.

มูลนิธิเพื่อพัฒนาทักษะแห่งอนาคต. (2564). เอกสารโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพ

การศึกษาอย่างต่อเนื่อง.

มูลนิธิสยามกัมมาจล. (2564). การประชุมการอบรมการประเมินเชิงพัฒนา Developmental Evaluation.

กองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษา. http://www.scbfoundation.com/activity-detail/1840/กิจกรรม_DE_โรงเรียน_TSQP-21209

วิชุดา โชคภูเขียว, วรรณ์ดี แสงประทีปทอง, รัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์ และสมพร หวานเสร็จ. (2555).

การพัฒนาตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดีสำหรับโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม ในจังหวัดเครือข่ายของ

ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9, วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 2(3), 49 -56.

วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน. (2558). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี, 2(1), 29-49.

สราวุฒิ ศักดี. (2557). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยม เขต 5. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). คู่มือการประเมินคุณภาพตาม

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. สำนักงาน

พระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

เอื้อการย์ โรจน์จิรไพศาล. (2564). การประเมินแบบพัฒนา จุดเปลี่ยนของการเรียนรู้. http://iamkru.com.

อิสระ กุลวุฒิ, สุรีพร อนุศาสนนันท์, และสมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2563). รูปแบบการประเมินระหว่างเรียน.

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 10(2), 21-33.

Peter Senge. (2017). The iceberg model for guiding systemic thinking. Socialincilico,

http://www.Socialincilico.wordpress.com

Michael Quinn Patton, Kate McKegg, and Nan Wehipeihana. (2016). Developmental Evaluation

Exemplars.The Guilford Press.

Wallace, H. R. & Masters, L. A. (2002). Personal development for life and work. (8 th ed.).

South Western.