เอกลักษณ์ตราสินค้า: วังสวนบ้านแก้ว
Main Article Content
บทคัดย่อ
วังสวนบ้านแก้วสถานที่พระราชฐานส่วนพระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรณี ซึ่งในปัจจุบันผันแปรมาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญและได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวเมื่อได้มาจังหวัดจันทบุรี วังสวนบ้านแก้วนั้นเปรียบดังตราสินค้าหนึ่งอันมีเอกลักษณ์น่าสนใจ งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาเอกลักษณ์ตราสินค้าวังสวนบ้านแก้ว ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับบุคลากรทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ ผลปรากฏว่า วังสวนบ้านแก้วมีแก่นเอกลักษณ์ที่ชัดเจน คือ เป็นวังส่วนพระองค์ของพระราชินีในรัชกาลที่ 7 เพียงแห่งเดียวของประเทศไทย มีส่วนขยายเอกลักษณ์ คือ พระราชินยานุสาวรีย์ของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ดอกกุหลาบสีชมพู และการคงสภาพเดิมของสถานที่ แต่ส่วนที่ไม่ชัดเจนคือ การไม่มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย ตำแหน่งทางการตลาดและบุคลิกของวังสวนบ้านแก้ว ทำให้การทำการสื่อสารต่าง ๆ จึงยังไม่สะท้อนเอกลักษณ์อย่างบูรณาการและไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
Article Details
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
กาลัญ วรพิทยุต. (ม.ป.ป.). Brand…identity. สืบค้นจาก utcc2.utcc.ac.th/brandthaicenter/doc/
Brand_Identity.doc
คอตเลอร์, พี. และ คอตเลอร์, เอ็ม. (2556). การตลาดเพื่อสร้างการเติบโตทางธุรกิจ 8 เส้นทางสู่ชัยชนะ (ณงลักษณ์ จารุวัฒน์, แปล). สมุทรปราการ: ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย). (ต้นฉบับพิมพ์ปี 2556).
ณัฐพัชญ์ วงษ์เหรียญทอง. (25 มีนาคม 2560). รู้จัก 4P หรือ 4C ของการตลาดแบบง่ายๆ ว่าคืออะไร. สืบค้นจาก www.nuttaputch.com/4p-4c-คืออะไร/
นงลักษณ์ ลิ้มศิริ. (2560). อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์: พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 18(33), 108-123.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2554). เอกลักษณ์. สืบค้นจาก www.royin.go.th/dictionary/
ภูมินันท์ ปิยทัศนันท์. (2553). Integrated Marketing Communication. ปทุมธานี:
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิเลิศ ภูริวัชร. (27 พฤษภาคม 2555). สร้างแบรนด์จากประสบการณ์ของลูกค้า. กรุงเทพธุรกิจ, น. 6.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2558). อัตลักษณ์. สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/?knowledges=อัตลักษณ์-16-มิถุนายน-25
สํานักศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาชุมชน. (2559). ข้อมูลวังสวนบ้านแก้ว. สืบค้นจาก www.arts.rbru.ac.th/
อรจนา แสนไชย จันทรประยูร. (2558). Brand Communication สื่อสารเพื่อสร้างสายสัมพันธ์. สืบค้นจาก https://onjanachantraprayoon.wordpress.com/2015/01/19/brand-communication-สื่อสารเพื่อการสร้างสาย/
อลิสรา ชรินทร์สาร. (2553). Integrated Marketing Communication. ปทุมธานี:
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อินทิรา พงษ์นาค และศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์. (2558). อัตลักษณ์ชุมชนเมืองโบราณอู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรี. Veridian E-Journal, 8(3), 511-523.
adamoconnor7. (2015). Chp 4: brand elements to build equity. Retrieved from https://quizlet.
com/88460580/chp-4-brand-elements-to-build-equity-flash-cards/
AMA. (2013). Definition of Marketing. Retrieved from www.ama.org/the-definition-of-marketing/
Ballowe, T. (2019). Just found – The 4 E’s of Marketing. Retrieved from onstrategyhq.com/resources/just-found-the-4-es-of-marketing/
Bara, D. (2017). What is brand identity? And how to design and develop a great one. Retrieved from 99designs.com/blog/tips/brand-identity/
GDB magazine. (10 ธันวาคม 2558). Brand identity "อัตลักษณ์ของแบรนด์". สืบค้นจาก https://gdbthai.com/brand-identity/
Greedisgoods. (4 มกราคม 2562). Brand identity คืออะไร? ทำไมสำคัญกับแบรนด์? สืบค้นจาก https://greedisgoods.com/brand-identity-คือ/
Haaften, R. (2017). Rovaha | Corporate branding. Retrieved from www.van-haaften.nl/branding/corporate-branding/112-brand-equity
Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2010). Merketing 3.0: From products to customers to the human spirit. United States of America: John Wiley & Sons, INC.
Lovelock, C. H. & Wright, L. (1999). Principles of Service Marketing and Management. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Moriarty, S., Mitchell, N. D., Wood, C., & Wells, W. D. (2019). Advertising & IMC: Principles and practice (11th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.
Solomon, M. R. (2018). Consumer behavior: Buying, having, and being (12th ed., Global ed.). Boston, MA: Pearson.
TAT Review. (2555). ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย ในสายตาของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. สืบค้นจากhttps://issuu.com/etatjournal/docs/thailand_destination_image/20
The Essential. (2563). Brand Communication for Next Normal สื่อสารแบรนด์อย่างไรให้ตรงกับ Next Normal. สืบค้นจาก https://positioningmag.com/1296700
The Hartford. (2019). Build brand equity. Retrieved from www.thehartford.com/business-playbook/in-depth/building-brand-equity