บทความที่ 5 : ความสัมพันธ์เชิงหน้าที่ของหน่วยทางภาษากรณีการขึ้นต้นพาดหัวข่าว เกี่ยวกับเรือสาราญในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่

Main Article Content

จอมขวัญ สุทธินนท์
จอมใจ สุทธินนท์

บทคัดย่อ

 


 บทความวิจัยฉบับนี้ได้ศึกษาผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงหน้าที่ของหน่วยทางภาษากรณีการขึ้นต้นพาดหัวข่าวเกี่ยวกับเรือสาราญในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งรวบรวมเฉพาะการพาดหัวข่าวเกี่ยวกับเรือสาราญในช่วงที่มี การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ โดยกาหนดคาค้นหา “เรือสาราญ” และ “COVID-19” ด้วยโปรแกรมสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต Google ที่ปรากฏระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 – 30 มีนาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งมีจานวนพาดหัวข่าวจานวนทั้งสิ้น 32 พาดหัวข่าวผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงหน้าที่ของหน่วยทางภาษากรณีการขึ้นต้นพาดหัวข่าวเกี่ยวกับเรือสาราญในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่พบว่าผู้เขียนข่าวใช้หน่วยทางภาษาระดับวลีประเภทนามวลีที่ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค หรือผู้ทากริยาหรือเจ้าของกริยามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 81.26 ผู้เขียนข่าวใช้หน่วยทางภาษาระดับวลีประเภทกริยาวลีที่ทาหน้าที่เป็นภาคแสดงของประโยค หรือกริยา รองลงมา คิดเป็นร้อยละ 12.5 และผู้เขียนข่าวใช้หน่วยทางภาษาระดับวลีประเภทปริมาณวลีที่ทาหน้าที่บอกจานวนคานามในประโยคน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.12 ซึ่งเท่ากับการใช้หน่วยทางภาษาระดับอนุประโยคที่ทาหน้าที่ขยายหน่วยทางภาษาระดับวลีประเภทกริยาวลี และเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทางภาษาระดับวลีประเภทกริยาวลีในประโยคซ้อน 

Article Details

บท
บทความวิจัย