อิทธิพลทางตรง ทางอ้อม และผลรวมของผู้ซื้อนกปรอดหัวโขนเคราแดง ที่ผิดกฎหมายในอำเภอบางกะปิ

Main Article Content

พันตำรวจโท พิชศาล พันธุ์วัฒนา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ซื้อ
นกปรอดหัวโขนเคราแดงที่ผิดกฎหมายในอำเภอบางกะปิ และ (2) อิทธิพลของลักษณะ
ทางประชากรศาสตร์ของผู้ซื้อ พฤติกรรมนก การเข้าถึงแหล่งซื้อ ราคาเทียบนกถูกกฎหมาย
ที่มีต่อการซื้อนกปรอดหัวโขนเคราแดงที่ผิดกฎหมายของผู้ซื้อในพื้นที่เขตบางกะปิ ใช้ระเบียบ
วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากผู้ซื้อนกจำนวน 78 ราย จากการสุ่มตัวอย่าง
แบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า
(1) ผู้ซื้อนกปรอดหัวโขนเคราแดงที่ผิดกฎหมายเกือบทั้งหมดเป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 60 ปี
การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 25,001 - 35,000 บาท ผู้ซื้อนกส่วนใหญ่
มีประสบการณ์เลี้ยง 6 - 10 ปี เลี้ยงนกที่บ้านไว้ 6 - 10 ตัว คิดเห็นว่าราคาของนกผิดกฎหมาย
ตำกว่าเมื่อเทียบกับนกที่ถูกกฎหมายและซื้อนกที่ผิดกฎหมายเป็นประจำ (2) ราคาเทียบ
นกถูกกฎหมายมีอิทธิพลทางตรงมากที่สุดต่อการซื้อนกปรอดหัวโขนเคราแดงผิดกฎหมาย และ
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ซื้อมีอิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลรวมต่อการซื้อนกปรอด
หัวโขนเคราแดงผิดกฎหมายของผู้ซื้อนกในอำเภอบางกะปิ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

รมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. (2552). การเพาะขยายพันธุ์นกปรอด
หัวโขนเคราแดงของภาคเอกชน. ผลงานวิจัยและรายงานความก้าวหน้า
งานวิจัยประจำปี 2552. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช.
กรรณิการ์ สุขเกษม และสุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2558). คู่มือการใช้โปรแกรมสำ เร็จรูป
ATLAS.ti สำ หรับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สามลดา.
คมชัดลึกออนไลน์. (2561). บุกจับร้านลอบขายนกกรงหัวจุก 100 ตัว. สืบค้นจาก
http://www.komchadluek.net/news/crime/310472
จตุจักรสัตว์เลี้ยงออนไลน์. (2555). ขายลูกป้อนนกกรงหัวจุก. สืบค้นจาก
http://www.jjpetonline.com/pet_detai ls.php?post_no=5936
จริญาภรณ์ ช่วยเรือง และชนิชา ปิยชยันต์. (2555). พฤติกรรมการเลี้ยงและปัจจัยที่สัมพันธ์
กับความสุขจากการเลี้ยงนกกรงหัวจุกของผู้ที่อาศัยอยู่ในตำ บลนาชุมเห็ด
อำ เภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร,
คณะวิทยาการจัดการ, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป.
ตระเวนข่าวออนไลน์. (2558). ตำรวจรวบแก๊งลักทรัพย์นกกรงหัวจุกของย่านรามคำ แหง.
สืบค้นจาก http://www.patrolnews.net/crime/ต?ำรวจ-รวบแก็งค์ลักทรัพย์.html
ไทยรัฐออนไลน์. (2560). กรมอุทยานฯบุกจับค้านกกรงหัวจุก ตลาดนัดสวนจตุจักร.
สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/521469
ผู้จัดการออนไลน์. (2558). ป.บุกรวบแก๊งขโมย “นกกรงหัวจุก”. สืบค้นจาก
http://www.manager.co.th/South/ViewNews.aspx?NewsID=9580000131790
พิชศาล พันธุ์วัฒนา. (2557). นกกรงหัวจุกและการใช้ประโยชน์เพื่อชุมชนสัมพันธ์
ของต?ำรวจในภาคใต้. [The Red - Whiskered Bulbul and their uses for police
community relations in Southern Thailand]. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 12(2),
105-111.
ม ติช น อ อ น ไ ล น ์. ( 2 5 6 0 ) . เ ห ยี่ย ว ด ง ลุย จับ น ก ป ร อ ท หัว จุก . สืบ ค ้น จ า ก
https://www.technologychaoban.com/uncategorized/article_19398
ราชกิจจานุเบกษา. (2535). พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.
หน้า 1 เล่ม 119 ตอน 15.
ราชกิจจานุเบกษา (2551). กฎกระทรวงกำ หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
การขอและออกใบอนุญาตในการเพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง
การครอบครองและการนำ เคลื่อนที่เพื่อการค้าสัตว์ป่าคุ้ม ครองและซากของสัตว์ป่า
คุ้มครอง และการค้าสัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าคุ้มครองและผลิตภัณฑ์
ที่ทำ จากซากสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ.2551. เล่ม 125 ตอนที่ 23ก.
สีฟ้า ละออง. (2554). การแพร่กระจายของนกปรอดหัวโขนในพื้นที่อนุรักษ์ของประเทศไทย.
ผลงานวิจัยและรายงานความก้าวหน้างานวิจัยประจำปี 2553.(รายงานการวิจัย).
กรุงเทพฯ: กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า
และพันธุ์พืช.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2558). การสร้างมาตรวัดสำ หรับการวิจัยที่ถูกต้องและ
ได้มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: สามลดา.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). การใช้สถิติในงานวิจัยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐานสากล.
กรุงเทพฯ : สามลดา.
สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า. (2554). การเลี้ยงนกกรงหัวจุก. สืบค้นจาก www.dnp.go.th/
complain/notify/files/159_121125562554030002.pdf
Agarwal, J., Osiyevskyy, O., & Feldman, P.M. (2015). Corporate reputation
measurement: Alternative factor structures, nomological validity &
organizational outcomes. Journal of business ethics, 130(2), 485-506.
Arthur, W., Day, E. A., McNelly, T. L., & Edens, P. S. (2006). A meta-analysis
of the criterion-related validity of assessment center dimensions.
Personnel Psychology, 56, 125-154.
Besnoy, K. D., Dantzler, J., Besnoy, L. R., & Byrme, C. (2016). Using exploratory
and confirmatory factor analysis to measure construct validity
of the traits, aptitudes, and behaviors scale (TABS). Journal for
the Education of the Gifted, 39(1), 3-22.
Caspar, R. (2016). Cross-Cultural Survey Guideline: Pretesting. Retrieved
from http://www.ccsg.isr.um ich.edu/images%5cpdfs%5CCCSG_
PRetesting.pdf
Engellant, K.A., Holland, D.D., & Piper, R.T. (2016). Assessing convergent
and discriminant validity of the motivation construct for the
technology integration education (TIE) model. Journal of Higher
Education Theory and Practice, 16(1), 37-50.
Gogtay, N.J. & U.M. Thatte. (2017). Principles of correlation analysis.
Journal of the association of psysicians of India, 65, 78-81. Retrieved
from http://www.japi.org/march_2017/12_sfr_principles_of_
correlation.pdf
Gottfredson, L.S. (1996). Gottfredson’s theory of circumscription
and compromise. Retrieved from www1.udel.edu/educ/
gottfredson/reprints/1996CCtheory.pdf
Haubl, G., & Trifts, V. (1999). Consumer decision making in online
shopping environments: The effects of interactive decision aids.
Retrieved from www.haas.berkeley.edu/courses/spring2 000/
BA 269D/Haubltrifts00.pdf
Kamtaeja, S., Sitasuwan, N., Chomdej, S., & Mennill, D.J. (2012).
Species-distinctiveness in the vocal behaviour of six sympatric
bulbuls (genus Pycnonotus) in South-East Asia. Journal compilation
BirdLife Australia, 31-43.
Lafave, L., Tyminski, S., Riege, T., Hoy, D., & Dexter, B. (2015). Content Validity
for a Child Care Self-assessment Tool: Creating Healthy Eating
Environments Scale (CHEERS). Canadian journal of dietetic practice
and research, 77(2), 89-92.
Mesa, J.M., Chica, D.A.G., Duquia, R.P., Bonamigo, R.R., & Bastos, J.L. (2016).
Sampling: how to select participants in my research study?.
An Bras Dermatol, 91(3), 326–330.
Moorhouse, T.P., Balaskas, M., D’Cruze, N.C., & Macdonald, D.W. (2017).
Information could reduce consumer demand for exotic pets.
Conservation Letters, 10(3), 337–345.
Resch, J., Driscoll, A., McCaffrey, N., Brown, C., Ferrara, M.S., &
Macciocchi, S. (2013). ImPact test-retest reliability: Reliably
unreliable?. Journal of athletic training, 48(4), 506-511.
Sato, T., & Ikeda, N. (2015). Test-taker perception of what test items measure:
a potential impact of face validity on student learning. Language
testing in Asia, 5(10), 1-16.
Sumi, R.S., & Kabir, G. (2010). Analytical hierarchy process for higher
effectiveness of buyer decision process. Global Journal of
Management and Business Research, 10(2), 2-9.