การสอนเขียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนประถมศึกษา
คำสำคัญ:
การสอนเขียน, เรียนรู้เชิงรุก, การเขียนเชิงสร้างสรรค์บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการสอนเขียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมความสามารถการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนประถมศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการสอนเขียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกก่อนและหลังเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการสอนเขียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกและนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนเขียนแบบปกติ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนเชิงสร้างสรรค์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการสอนที่มีการจัดการเรียนการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก และแผนการจัดการเรียนการสอนเขียนแบบปกติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า
1) ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังจากการจัดการเรียนการสอนเขียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการสอนเขียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกมีความสามารถการเขียนเชิงสร้างสรรค์ที่สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. สำนักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร.
http://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id=75
กิ่งกาญจน์ บูรณสินวัฒนกูล. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ของ
Plsek ร่วมกับทฤษฎีเชาวน์ปัญญาสามองค์ประกอบของ Sternberg เพื่อเสริมสร้างความสามารถใน
การเขียนเล่าเรื่องเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. [วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. URLhttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/840/1/57255905
จิรกิตติ์ เนาวพงศ์รัตน์. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2. [วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70042
ฐนัส มานุวงศ์. (2562). การพัฒนาความสามารถในการออกแบบการเรียนการสอนที่บูรณาการหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงกับสาระรายวิชาด้วยโปรแกรมฝึกอบรมที่ใช้แนวคิดการศึกษาแบบเน้นผลลัพธ์และการเรียนรู้เชิงรุก. [วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต].
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69933
ปราณี สุรสิทธิ์. (2549). การเขียนสร้างสรรค์ เชิงวรสารศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาวจำกัด.
พิศมัย ลาภมาก ประสพสุข ฤทธิเดช สุรกานต์ จังหาร. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเขียนเชิง
สร้างสรรค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารบัณฑิตศึกษา, 14(60): 119 – 200.
พงศธร มหาวิจิตร. (2562). การประยุกต์ใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับการเรียน
แบบเชิงรุกในรายวิชาการประถมศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21.วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42(2): 35-48.
ภริมา วินิธาสถิตย์กุล,ชนินันท์ แย้มขวัญยืน. (2022). การเรียนรู้เชิงรุกแนวทางการเรียนการสอนที่เป็นเลิศใน
ศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย.6(3).921-934. https://so03.tci-
thaijo.org/index.php/jeir/article/view/262165/175390
มยุรา กล่อมเจริญ. (2554). การใช้กิจกรรมการเขียนเชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีสแกฟโฟลด์เพื่อพัฒนาการเขียน
เชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตกรุงเทพมหานคร.[วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต].
เยาวเรศ ภักดีจิตร. (2557). Active Learning กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 .เอกสารประกอบการเสวนาทาง
วิชาการ “วันส่งเสริมวิชาการสู่คุณภาพการเรียนการสอน”30 กรกฎาคม 2557 ณ หอประชุม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ลักษมี แป้นสุข .(2562). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยใช้เทคนิคผังกราฟิกที่มี
ต่อทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. [วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต]. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64776
วิราภรณ์ กลัดสันเทียะ. (2553). การศึกษาความสามารถทางการเขียนเชิงสร้างสรรค์กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยและความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบ CIRC ร่วมกับแบบฝึกทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์. [วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต] มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
ศักดิ์ดา เปลี่ยนเดชา, กิตติชัย สุธาสิโนบล, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ,ลั ดดาวัลย์ เกษมเนตร. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงรุกเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการอ่านเชิงรุกและความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์,19(1): 218 – 239.
สุทธิวรรณ อินทะกนก. (2559). การเขียนเชิงสร้างสรรค์.สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17796U072708AP7A2PW7.pdf
สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.สสวท.42(188)5-6
สุรีรัตน์ พิมพ์เขต. (2557). การพัฒนาแบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์วิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะศึกษาศาสตร์, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้. กรุงเทพฯ : ชุมนุม
สหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
ภาษาอังกฤษ
Göçen, G. (2018). Sınıf öğretmenlerinin yaratıcı yazma uygulamalarına yönelik öz değerlendirmeleri. Diyalektolog Ulusal Sosyal Bilimler Dergisi (19), 469-502.
J. Scott Armstrong. (2012). "Natural Learning in Higher Education". Encyclopedia of the
Sciences of Learning.
L. Dee Fardanesh, H. (2010). A Classification of Constructivist Instructional Design Models
Based
Matchart,T. (2009). Kan khian cheongsam sang San Phum a kansueksa ale achip.(in
Thai)[CreativeWriting for Education and Profession].(10Edition).Bangkok:Thanakson.
on Learning and Teaching Approaches. Online Submission,16.Retrieved from
http://www.ed.utah.edu/users/robert.zheng/6750reading/fardanesh.pdf.
Sutherland, T. E. and Bonwell, C. C. (1996). Using active learning in college classes: A
range of options for faculty. San Francisco: Jossey-Dass.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์