การวิเคราะห์ทัศนคติเหมารวมทางเพศของตัวละครหลักในหนังสือภาพสำหรับเด็กวัย 3 - 6 ปี
คำสำคัญ:
ทัศนคติเหมารวมทางเพศ, / หนังสือภาพ, เด็กวัย 3 - 6 ปีบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ประเภทหนังสือภาพสำหรับวัย 3-6 ปี และ (2) เพื่อวิเคราะห์ทัศนคติเหมารวมทางเพศของตัวละครหลักในหนังสือภาพสำหรับเด็กวัย 3 - 6 ปี ใน 3 ประเด็น ได้แก่ ลักษณะทางกายภาพของตัวละคร ลักษณะบุคลิกภาพของตัวละคร ความสนใจหลักของเรื่อง ประชากรคือ ตัวละครหลักที่ปรากฎในหนังสือภาพสำหรับเด็ก 3 - 6 ปี ที่ได้รับคัดเลือกในโครงการหนังสือดีเด่น
โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ระหว่างปี พ.ศ. 2557 – 2566 จำนวน 68 เล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประเภทหนังสือภาพสำหรับเด็กวัย 3-6 ปี มีทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ หนังสือเรื่องเล่าหรือนิทาน คิดเป็นร้อยละ 48.5 หนังสือไม่เน้นคำบรรยาย คิดเป็นร้อยละ 26.5 หนังสือความคิดรวบยอด คิดเป็นร้อยละ 16.2 และหนังสือบอร์ดบุ๊ค คิดเป็นร้อยละ 8.8 ตามลำดับ (2) ทัศนคติเหมารวมทางเพศของตัวละครหลักในหนังสือภาพสำหรับเด็กวัย 3 - 6 ปี (2.1) ด้านลักษณะทางกายของตัวละครหลักมีภาพรวมของค่าร้อยละสูงสุดคือ การแสดงถึงรูปร่างภายนอกของตัวละครหลัก คิดเป็นร้อยละ 36.6 รองลงมามีค่าร้อยละเท่ากันคือ เพศและการแต่งกาย คิดเป็นร้อยละ 31.7 (2.2) ด้านลักษณะบุคลิกภาพของตัวละครหลัก ที่ปรากฏค่าร้อยละสูงสุดคือ การแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึก คิดเป็นร้อยละ 53.2 รองลงมาคือ การแสดงออกทางกาย คิดเป็นร้อยละ 48.8 (2.3) ด้านความสนใจหลักของเรื่อง ที่ปรากฏค่าร้อยละสูงสุดคือ เชาว์ปัญญา คิดเป็นร้อยละ 65.1 รองลงมาคือ คุณธรรมจริยธรรม คิดเป็นร้อยละ 34.9 ตามลำดับ
References
ภาษาไทย
กองอนามัยเจริญพันธ์ กรมอนามัย. (2546). บทบาทหญิงชายกับงานอนามัยการเจริญพันธุ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). แปลน พับลิชชิ่ง. https://rh.anamai.moph.go.th/th/about-reproductive-health/2574
#wow-book/
เกื้อกมล นิยม. (2560, 4 กรกฎาคม). ในโลกหนังสือเด็ก มิได้เป็นแค่นิทานหลอกเด็ก. Waymagazine. https://waymagazine.org/kids_books/
กรมกิจการเด็กและเยาวชน. (2565). แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. https://www.dcy.go.th/public/mainWeb/
file_download/1667371836209-699983925.pdf
คณะจิตวิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2562, 10 พฤษภาคม). Gender Role – บทบาททางเพศ. คณะจิตวิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://www.psy.chula.ac.th/th/feature-articles /gender-role
นิตยา วรรณกิตร์. (2562). วรรณกรรมสำหรับเด็ก. นนทบุรี: อินทนิล.
ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. (2563). พลังนิทานอ่านก่อนนอน. อมรินทร์คิดส์.
มัจฉา พรอินทร์ (2564, 19 มิถุนายน). X-cite kids to teen: นิทานเด็ก ความหลากหลายทางเพศ ความแตกต่างที่ท้าทายการเรียนการสอน. ไทยโพสต์.
ภักดีกุล รัตนา. (2564). การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยเพื่อความเป็นพลเมืองในโลกยุคดิจิทัล: บทเรียนจากต่างประเทศ. วารสารสังคมวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(4).
เมริษา ยอดมณฑป. (2564, มีนาคม 16). ภาพในความคิดแบบเหมารวมของสังคมต่อเพศชายหญิง และ LGBTQ+ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงดูเด็ก. Thepotential. https://thepotential.org/ family/the-untold-stories-2-ep1/
ยุทธนา พูนเกิดมะเริง (2561). พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย. มิตรภาพการพิมพ์.
ทินสิริ ศิริโพธิ์. (2565). การประชุมปรึกษาหารือเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หัวข้อ ผลกระทบระยะสั้นและระยะยาวของสถานการณ์โควิดต่อพัฒนาการด้านสังคมของเด็กแนวทางและนวัตกรรมการฟื้นฟู, วันที่ 24 สิงหาคม 2565
ศุภวัฒน์ บุญนาดี. (2564). ผลการจัดกิจกรรมเล่านิทานคุณธรรมที่มีต่อพฤติกรรมการแบ่งปันของเด็ก ปฐมวัย. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 6(2). https://so06.tci-thaijo.org/index.php/
mcjou/article/view/248621
สิริลักษณ์ สุขสวัสดิ์. (2563, 10 มีนาคม). ภายนอกเหมือน แต่ในใจไม่ใช่ เมื่อการเหมารวมสร้างบาดแผลให้ผู้บริสุทธิ์. Urbancreature. https://urbancreature.co/stereotype-threat/
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2559). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (2563, 7 กุมภาพันธ์). เด็กได้ 9 คุณค่าจากการฟังนิทาน. Thaihealth. https://www.thaihealth.or.th/?p=235341
ภาษาอังกฤษ
Abad C. and Pruden, M. (2013). Do Storybooks Really Break Children's Gender Stereotypes?. Frontiers in Psychology. 4(986)
School of Education and Social Work Birmingham City University. (2021). Gender stereotypes in childhood: what’s the harm?. Birmingham City University. https://www.bcu.ac.uk/education-and-social-work/research/cspace-blog/gender-stereotypes-in-childhood-whats-the-harm
Fawcett (2020). Unlimited potential: Report of the Commission on Gender Stereotypes in Early Childhood. Fawcett Society.
Koenig, A. M. (2018). Comparing prescriptive and descriptive gender stereotypes about children, adults, and the elderly. Frontiers in Psychology. 9(1086). https://doi.org/10.3389/fpsyg.2018.01086
Klischeefrei. (2022). Stereotype-free school: A method set for career and study choices free of gender stereotypes. Gothe Instut. https://www.goethe.de/prj/sff/en/lhr/
klischeefrei.html
Maryland State Library Resource Center. (2017). Guide to picture book. Maryland state
library resource. https://www.slrc.info/resources/guides/books-reading/guide-to-picture-books/
Mermelstein D. A. (2018). Gender Roles in Children’s Literature and Their Influence on Learners. MinneTESOL Journal, 34(2)
Navsaria D. (2021, 10 November). Recommended Reading: Books to Build Character & Teach Your Child Important Values. healthychildren. https://www.healthy
children.org/English/healthy-living/emotional-wellness/Building-Resilience/Pages/Books-to-Build-Character-Teach-Important-Values.aspx
Pastel E., Steele K., Nicholson J., Maurer C., Hennock J., Julian J., Unger T., & Flynn N. (2019). Supporting gender diversity in early childhood classrooms: A practical guide. Jessica Kingsley Publishers.
Planned Parenthood Federation of America. (2017, 31 July). What are gender roles and stereotypes?. Plannedparenthood. https://www.plannedparenthood.org/learn/
gender-identity/sex-gender-identity/what-are-gender-roles-and-stereotypes
Singhal, M. (2021, 28 January). What Do Gender Stereotypes Have To Do With Raising My Young Child?. Parentcircle. https://www.parentcircle.com/what-are-gender-stereotypes-and-how-can-impact-children/article
Zöhrer M. (2021, March). Children’s and young adult literature: Neither pink nor blue. Goethe. https://www.goethe.de/ins/th/en/kul/mag/22157084.html
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์