การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ โดยใช้นวัตกรรมการสอนแบบมอนเตสซอรี่
คำสำคัญ:
ทักษะในศตวรรษที่ 21, เด็กปฐมวัย, มอนเตสซอรี่บทคัดย่อ
โรงเรียนสาธิตละอออุทิศได้นำนวัตกรรมการสอนแบบมอนเตสซอรี่มาใช้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย จากการวิเคราะห์การใช้นวัตกรรม พบว่า นวัตกรรมการสอนแบบมอนเตสซอรี่ มีกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 2) ทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา 3) ทักษะการสื่อสาร 4) ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ภายใต้ปรัชญา หลักสูตร และสื่ออุปกรณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่
References
จารุทัศน์ วงศ์ข้าหลวง. (ออนไลน์).เด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 . https://w54723430.readyplanet.site/
บุญชนก ธรรมวงศา (ออนไลน์ https://thepotential.org/knowledge/4cs-for-21st-century-
learning/4CS: สี่ทักษะการเรียนรู้ที่ควรมี ฝึกกันได้ และไม่ต้องใช้พรสวรรค์
แปลน ฟอร์ คิดส์ (ออนไลน์) https://www.planforkids.com/kids_corner/kids-corner-4Csมารู้จัก 4Cs
ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 http://www.108kids.com/article/ 4 ทักษะ 4CS สำหรับเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21
คำแก้ว ไกรสรพงษ์. (2544) เบื้องต้นการสอนแบบมอนเตสซอรี่.ห้างหุ้นส่วนจำกัด พี.ที.ครีเอทิฟส์ เฮ้าส์.
จีระพันธุ์ พูลพัฒน์.(2550).แนวคิดและแนวปฏิบัติในการสอนแบบมอนเตสซอรี่สำหรับเด็กปฐมวัย.วารสารครุศาสตร์ 35: 4 (เมษายน 2550 - มิถุนายน 2550)
จีระพันธุ์ พูลพัฒน์. (มปป.) การสอนแบบมอนเตสซอรี่ จากทฤษฎีสู่แนวทางการนำไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบัน พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
นันทวัน จันทร์กลิ่น. (2558). การศึกษาปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพในการฒนา ทักษะผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบ้านเนินมะปราง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, พิษณุโลก.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิธีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 .กรุงเทพฯ:มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์สวัสดิ์.
วิภาวี ศิริลักษณ์ (2557).การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21. วารสาร ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 16(4), หน้า 155-165.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์