การออกแบบกิจกรรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ สำหรับเด็กปฐมวัยจากอนุบาลสู่ประถมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ศศิธร รณะบุตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง

คำสำคัญ:

การออกแบบกิจกรรม, การสร้างรอยเชื่อมต่อการเรียนรู้, เด็กปฐมวัย

บทคัดย่อ

คุณภาพของการจัดการเรียนรู้มาจากความสามารถในการออกแบบการกิจกรรมของผู้สอน เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยองค์ความรู้เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้ หลักการทางทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ การวางแผนกระบวนการดำเนินกิจกรรมในขั้นตอนต่างๆ ตั้งการกำหนดจุดประสงค์ วิธีการดำเนินกิจกรรม การสรุปความรู้ รวมถึงการผลิตและการใช้สื่อ โดยมุ่งหวังผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความหมายและความสำคัญของการออกแบบกิจกรรม จุดมุ่งหมายของการออกแบบกิจกรรม หลักการและแนวทางการออกแบบกิจกรรม แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับรอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยจากอนุบาลสู่ประถมศึกษา แนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อ
การเรียนรู้ และนำเสนอแนวปฏิบัติการออกแบบกิจกรรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยจากอนุบาลสู่ประถมศึกษา อันจะเป็นแนวทางดำเนินกิจกรรมในการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่เหมาะสมจากครู พ่อแม่ผู้ปกครอง ตลอดจนบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันพัฒนาเด็กให้มีความพร้อมทางการเรียนรู้ต่อไป

References

กมลทิพย์ นิ้มคธาวุธ. (2561). บทบาทของครูในการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กเพื่อเข้าสู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ระดับปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ.

บุศรินทร์ ใจวังโลก, สุขแก้ว คำสอน, และเกรียงศักดิ์ สุวรรณวัจน์. (2561). การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาความสามารถด้านการจัดการเรียนรู้ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(2), 470-485.

พิณสุดา สิริธรังศรี. (2557). การยกระดับคุณภาพครูไทยในศตวรรษที่ 21. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ “อภิวัฒน์การเรียนรู้สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย”. 6-8 พฤษภาคม 2557, 8-10.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2552). กระบวนการออกแบบย้อนกลับ: การพัฒนาหลักสูตรและการออกแบบการสอนอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ธนพรรณ กิตติสุวรรณกุล, อดุลย์ วังศรีคูณ, และชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2560). ความต้องการเกี่ยวกับสมรรถนะครูโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 11(2), 48-57.

ยศวีร สายฟา. (2557). รอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ระหว่างชั้นอนุบาลและประถมศึกษา : ก้าวย่างที่สำคัญของเด็กประถมศึกษา. วารสารครุศาสตร์, 42(3),143–159.

Branch, R. M. (2017). Characteristics of foundational instructional design models. In Reiser & Dempsey (Eds.), Trends and Issues in Instructional Design and Technology. New York, NY: Pearson. 23-30.

Bronfenbrenner, U. (1979). The ecology of human development: Experiments by nature and design. Cambridge, MA: Harvard University Press.

Dick, W. & Carey, L. (1985). The systematic design of instruction. (2nd Ed.). Illinois: Scott and Foresman

Gagné, R. M., Wager, W. W., Golas, K. C., & Keller, J. M. (2005). Principles of instructional design .(5th Ed.). Connecticut: Thomson Wadsworth.

Mishra,P.,& Koehler, M.J. (2006). Technological pedagogical content knowledge: A framework for integrating technology in teacher knowledge. Teachers College Record, 108(6), 1017-1054.

Richey, R. C., Klein, J. D., & Tracey, M. W. (2011). The instructional design knowledge base. New York: Taylor & Francis

Smith, P. L. & Ragan, T. J. (1999). Instructional design.(2nd Ed.). New Jersey: Prentice- Hall.

Vygotsky, L.S. (1978). Mind in society: The development of higher psychological processes. M. Cole, V. John-Steiner, S.Scribner, & E.Souberman (Eds.). Cambridge, MA: Harvard University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-03