การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

ผู้แต่ง

  • ประภาศรี นันท์นฤมิต นักจิตวิทยาพัฒนาการ สาขาวิชาพัฒนาการและการเจริญเติบโต ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

ปัจจุบันเด็กที่มีความต้องการพิเศษมีจำนวนมากขึ้นในทุกปี ซึ่งมีประเภทและลักษณะความพิการที่แตกต่างกัน เด็กเหล่านี้ต้องได้รับการช่วยเหลือและการพัฒนา เพื่อเข้าสู่ระบบการศึกษาที่รัฐจัดให้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน ซึ่งการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม เป็นการจัดการศึกษาเบื้องต้นที่จำเป็น และสำคัญยิ่งต่อการพัฒนา และให้การช่วยเหลือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ หรือเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มีผลต่อพัฒนาการล่าช้า ตั้งแต่แรกเริ่ม หรือเมื่อเริ่มพบปัญหาตั้งแต่แรกเกิด-3 ปี เพื่อให้เด็กเหล่านี้มีพัฒนาการ และการเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพ โดยให้ความสำคัญเกี่ยวกับบทบาทของครอบครัวในการทำงานร่วมกับนักวิชาชีพ และให้การพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่องทั้งที่บ้าน และที่ศูนย์ โรงเรียน หรือโรงพยาบาล  ทำให้เด็กเหล่านี้ได้รับโอกาสพัฒนาศักยภาพตั้งแต่แรกเริ่มเกิดความพร้อมทางการเรียนรู้ และสามารถต่อยอดการเรียนรู้ในระบบการศึกษาได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะของความพิการที่เกิดขึ้น ส่งผลให้เด็กเหล่านี้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย ประสบความสำเร็จ และบรรลุผลตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาประเภทนั้น และสามารถนำไปใช้ในการดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กรองทอง จุลิรัชนีกร, (2554). การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษระดับปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กระทรวง, (2563). รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทย

ศึกษาธิการ, กระทรวง, (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. พร้อมกฎหมายที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การรับส่งสสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ศึกษาธิการ, กระทรวง, (2551). พระราชบัญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย.

Batshaw ML, (2007). Children with Disabilities. 7 ed. Baltimore: Paul H. Brookes.

Bailey,D.B. and Wolery,M, (1992). Teaching infants and preschoolers with disabilities. 2nd ed. New Jersey: Prentice-Hall.

Hanson MJaL, E.W, (1989). Early Intervention: Implementing child and family services for infants and toddlers who are at risk or disabled. Texas: Pro-Ed.

Carey WB, Crocker, A.C, Coleman,W.L, Elias,E.R. and Feldman,H.M, (2009). Developmental-Behavior Pediatrics. 4th ed. Philadelphia: Saunders.

Dunst,C.J, (2002). Family-centered practices: Birth through high school. The Journal of

Special Education. 36: 141-149.

Hunt N, and Marshall, K, (2012). Exceptional Children and Youth. 5th ed. Los Angeles: Cengage Learning.

Gargiulo RMaK, J.L, (2000). Young children with special needs: An introduction to earlyChildhood special education. New York: Delmar.

King,S.,Teplicky,R.,King,G. and Rosenbaun,P, (2004). Family –center service for children with cerebral palsy and their families: A review of the literature. Seminars in Pediatric Neurology. 11:78-86.

Morrison, G.S, (2001). Early childhood education today. 8th ed. New Jersey: Merrill Prentice

Peralta,F. and Arellano,A, (2010). Family and disability: A theoretical perspective on the

family-centered approach for promoting self-deternination. Journal of Research in

Educational Psychology. 8: 1339-1362.

Wehman, T, (1998). Family-centered early intervention services: Factors contributing to

increased parent involvement and participation. Focus on Autism & Other Developmental Disabilities’. 13: 80-86.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-28