An Evaluation of the Normal Program Curriculum at The Demonstration School of Silpakorn University (Early Childhood and Elementary) Early Childhood Level Research article evaluating the curriculum of The Demonstration School of Silpakorn University (Early Childhood and Elementary) Early Childhood Levell

Main Article Content

Sirin Laddaklom Booncherdchoo
Thanapa Pichetpiriya
Thanrawee Wangsirijit
Natthapach Wongpoodpraw
Kritchayapa Noythim

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ภาคปกติของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา) ระดับปฐมวัย 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้     ภาคปกติของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา) ระดับปฐมวัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่    1) ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาปฐมวัย 3) ผู้บริหาร 4) อาจารย์ประจำหลักสูตรภาคปกติ 5) นักเรียนหลักสูตรปกติ ปีการศึกษา 2564 6) ตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 7) ตัวแทนสมาคมผู้ปกครองและครู และ 8) ตัวแทนผู้ปกครองนักเรียน หลักสูตรปกติ ปีการศึกษา 2564 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงประเมินโดยใช้ CIPP model เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยวิธีการแจกแจงความถี่        ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x̄) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ภาคปกติของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา) ระดับปฐมวัย ด้านสภาวะแวดล้อม ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต มีความเหมาะสมทั้งในภาพรวมและรายด้าน และด้านผลผลิตอยู่ในระดับมาก 2) ผลแนวทางการพัฒนาหลักสูตร ควรเพิ่มเติมหัวข้อการสร้างรอยเชื่อมต่อจากปฐมวัยสู่ประถมศึกษาปีที่ 1 ควรเพิ่มเติมการประสานความร่วมมือกับชุมชนให้มากขึ้น และควรเพิ่มเติมในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับเด็กปฐมวัย เพิ่มเติมกิจกรรมด้านความเป็นไทย และเพิ่มการทำ KM หรือ การทำ PLC ให้ครูได้แลกเปลี่ยนและแบ่งปันประสบการณ์ต่างๆ

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Best, J.W. (1981). Research in Education. New Jersey: Prentice – Hall.

Boonsoong, Sakuna. (1997). Attitude towards English Language Instructions of Students in Prathom Suksa 5 – 6 Who Speak Thai as a Second Language. [Online]. Retrieved January 12, 2022 from http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/11695

Dechakupta, Yaowapa. (1999). Early Childhood Education. Bangkok: AB Graphic Design Press.

Heckman jj. (2012). The rate of return to the HighScope Perry Preschool Program.

Journal of Public Economics

Ministry of Education. (2017). Early Childhood Curriculum B.E. 2560. Bangkok: The agricultural Co- operative Federation of Thailand Press.

Ministry of Education. (2003). Early Childhood Curriculum B.E. 2546). Bangkok:The agricultural Co- operative Federation of Thailand Press.

Netthanomsuk, Thirachai. et al. (2009). The evaluation report of the english program

under Ministry of Education. Bangkok: Office of the Basic Education Commission Press.

Pithiyanuwat, Somwung. (1998). Cetegory Article: Project Evaluation. Bangkok: ChulalongKorn University Press.

Print, M. (1993). Curriculum development and design (2nd ed.). Sydney: Allen

Sangmali, Benja. (2007). Early Childhood Development. Bangkok: Meteetips.

Sirin Laddaklom Booncherdchoo. (2020). Building Readiness And Enhancing Happiness In The

Transition From Kindergarten to First Grade. Journal of education Silpakorn University, 8(2), 58 – 73. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/article/view/247246/167343

Tyler, R. W. (1949). Basic principles of curriculum and instruction. Chicago: University of Chicago Press.

Wonganutroge, PriyaPohn. (1998). Industrial Psychology. Bangkok: Soonsousarnkrungtep Press.

Wongyai, Wichai. & Patthapol, Marut. (2011). From the Basic Education Core Curriculum to the School Curriculum. Bangkok: Jarunsanitwongkarnpimp Press.

Wongyai, Wichai. (1994). Development of Curriculum and teaching process: Practical section. Bangkok: Sureewiyasarn Press.