ผลการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาครู

Main Article Content

Chutikan Iaolek

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลผลการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาครู พฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และความพึงพอใจของนักศึกษาครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน แบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาครู แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาครู วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาครูที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานมีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง (p < .05)  เด็กปฐมวัยเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ทั้งด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจรวมอยู่ในระดับดีมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

ชลาธิป สมาหิโต. (2562). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย.
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(1), 113-129.
ณัฐวรรณ เวียนทอง. (2554). การศึกษาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและเจตคติในการเรียนภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) กับการสอนตามคู่มือครู. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บรรจง อมรชีวิน. (2554). สอนให้คิด = Thinking school. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
พงศธร มหาวิจิตร. (2562). การประยุกต์ใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุก
ในรายวิชาการประถมศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยข่อนแก่น, 42(2), 73-90.
รวินันท์ สัจจาศิลป์ และ ชลาธิป สมาหิโต. (2562). ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน
ผ่านการสร้างสื่อจาลองที่มีต่อความสามารถด้านมิติสัมพันธ์สาหรับเด็กปฐมวัย. วารสารวิชาการและวิจัย
สังคมศาสตร์, 14(2), 111-124.
ศิวภรณ์ สองแสน สมบัติ คชสิทธิ์ บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ และ ฐิติพร พิชยกุล. (2557). การพัฒนาการคิดอย่างมี
วิจารณญาณสำหรับนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย โดยรูปแบบ MAPLE. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 8(3), 110-129.
อรพรรณ บุตรกตัญญู. (2561). การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อการสร้างมุมมองแบบองค์รวมและ
การเข้าถึงโลกแห่งความจริงของผู้เรียน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(2), 348-365.
สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล. (2563). ในวันที่เด็กไทยขาด Critical Thinking. สืบค้น 28 กรกฎาคม 2563,
จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/866840
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). แนวทาง
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สืบค้น 28 กรกฎาคม 2563, จาก
https://webs.rmutl.ac.th/assets/upload/files/2016/09/20160908101755_51855.pdf
Banchong, A. (2011). Thinking school. Bangkok: Parbpim. [in Thai]
Bybee, R. W. (2009). The BSCS 5E Instructional Model and 21st Century Skills. Colorado Springs,
CO: BSCS.
Chalatip, S. (2019). Phenomenon-Based Learning experience provision for young children.
Silpakorn University Journal, 39(1), 113-129. [in Thai]
Dewey, J. (1963). Experience and education. New York: Collier Books.
Natawan, V. (2011). The ability of critical thinking and attitude in learning Thai of mathayom
suksa V using inquiry teaching knowledge (5E) and the teacher’s manual. (Master thesis). Bangkok: Srinakarinwirot University. [in Thai]
Oraphan, B. (2018). Phenomenon based learning for developing a learner’s holistic views and
engaging in the real world. Journal of Education Studies, 46(2), 348-365. [in Thai]
Piaget, J. (1960). The Child’s Conception of Physical Causality. Totowa, NJ: Littlefied, Adams.
Pongsatorn, M. (2019). Application of Phenomenon-Based learning and active learning in elementary
education course to enhance 21st century learning skills. Journal of Education Khon Kaen University, 42(2), 73-90. [in Thai]
Rawinun, S. & Chalatip, S. (2019). The Effects of Phenomenon-Based Learning Experience Provision
Through Media Simulation Creation on the Spatial Ability for Young Children. Social Sciences Research and Academic Journal, 14(2), 111-124. [in Thai]
Silander, P. (2015). Phenomenon-based learning. Retrieved from:
http://www.phenomenoleducation.info/phenomenon-based-learning.html
Sittiphol, V. (2020). On a day when Thai children lack 'Critical Thinking. Retrieved
July 28, 2020, from https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/866840
[in Thai]
Sivaporn, S., Sombat, K., Boonchird, P., & Thitiporn, P. (2014). The development of critical thinking
for early childhood education students through MAPLE instructional model. Journal of Graduate Studies Walaya Alongkorn University, 8(3), 110-129. [in Thai]
The Secondary Educational Service Area. (2016). The learning management guidelines
in 21st century. Retrieved July 28, 2020, from https://webs.rmutl.ac.th/assets/upload/files/2016/09/20160908101755_51855.pdf [in Thai]